1 / 160

ระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ. Information System. ภาพรวมของระบบสารสนเทศ. หลักการและแนวคิดในการใช้ ระบบสารสนเทศ. Information is POWER. www.puvadon.cjb.net. 4. 5. สารสนเทศเพื่อการบริหาร . เทคโนโลยีสารสนเทศ. Contents. 1. หน้าที่และบทบาทของผู้บริหารองค์กร. 2. ข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการ.

audrey-tate
Download Presentation

ระบบสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสารสนเทศ Information System

  2. ภาพรวมของระบบสารสนเทศภาพรวมของระบบสารสนเทศ

  3. หลักการและแนวคิดในการใช้ ระบบสารสนเทศ Information isPOWER www.puvadon.cjb.net

  4. 4 5 สารสนเทศเพื่อการบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศ Contents 1 หน้าที่และบทบาทของผู้บริหารองค์กร 2 ข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการ 3 ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ

  5. บทนำ • เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในขององค์กร • การลดต้นทุนหรือการเพิ่มคุณภาพในการผลิต โดยการนำระบบอัตโนมัติมาใช้ในงานที่ต้องใช้แรงงาน • งานของผู้บริหารมีลักษณะเปลี่ยนไปตลอดเวลาตามสภาพแวดล้อม

  6. 1. หน้าที่และบทบาทของผู้บริหารองค์กร • กำหนดความต้องการสารสนเทศของผู้บริหาร • มินช์ เบอร์ก อธิบายว่า งานอันได้แก่ การติดตาม (Monitor) การตรวจสอบ (Audit) การให้คำปรึกษาแนะนำ (Consult) สมควรเป็นผู้บริหารเพียงไม่กี่คน • “ผู้บริหารมักทำสิ่งต่างๆ ให้ลุล่วงได้โดยอาศัยผู้อื่น” • การจัดการเป็นองค์ความรู้ เป็นความสามารถและทักษะที่สามารถเรียนรู้กันได้ • ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของผู้บริหารและขององค์กร คือ การปฏิบัติของผู้บริหาร ผนวกกับ ความรู้ บุคลิก ลักษณะ ทักษะ และประสบการณ์ • ลักษณะต่างๆ ที่ผู้บริหารควรมี

  7. 2. ข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการ • ทักษะการจัดการ ผู้บริหารจะสามารถทำงานได้โดยอาศัยทีมงานและทักษะในการสื่อสารที่ดี ทั้งการพูดและการเขียนตลอดจนต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรม และแรงบันดาลใจของมนุษย์อย่างลึกซึ้ง • บุคลิกภาพการจัดการ คุณสมบัติสำคัญของผู้บริหารมีความฝัน ทะเยอทะยาน แรงบันดาลใจ ความรู้เกี่ยวกับงาน ผลผลิตและการบริการ ความคิดสร้างสรรค์ การมีวินัยตนเอง การจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทำให้ผู้บริหารต้องปรับตัวตลอดเวลา

  8. การศึกษาและความรู้ด้านการจัดการการศึกษาและความรู้ด้านการจัดการ หลักสูตรการจัดการควรประกอบด้วยความรู้หลาย ๆ ด้าน ได้แก่ องค์กร งบประมาณและการเงิน สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ เศรษฐกิจและกิจการปัจจุบัน กฎหมายและกรอบระเบียบข้อบังคับ การวางแผน

  9. การศึกษาและความรู้ด้านการจัดการการศึกษาและความรู้ด้านการจัดการ หลักสูตรการจัดการควรประกอบด้วยความรู้หลาย ๆ ด้าน ได้แก่ การวัดผลงาน การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการการดำเนินงาน การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก การตลาดและการจำหน่าย วิธีวิเคราะห์และเชิงปริมาณ การกำหนดโครงการ

  10. ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ การจัดการผู้ปฏิบัติงานให้เป็นทีมสร้างผลงานหรือแผนกต่างๆ ทำงานเป็นทีมเพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทำให้ทุกคนมีความรู้สึกร่วมกัน การพัฒนาคน ลักษณะขององค์กรที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะประสบผลสำเร็จได้ต้องมีการพัฒนา มันวัตกรรมใหม่ๆและมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการตลอดเวลา สร้างและรักษามาตรฐาน ผู้บริหารจะต้องกำหนดมาตรฐานเชิงคุณธรรม เช่น ความซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา

  11. ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ • กำหนดระดับผลงานและติดตามผล ผู้บริหารจะต้องกำหนดให้ชัดเจนพฤติกรรมใดเป็นที่ยอมรับ ถ้ามีพฤตืกรรมเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานจะต้องหยุดพฤติกรรมเหล่านั้น • ให้วิสัยทัศน์ ผู้บริหารจะต้องมีวิสัยทัศน์กำหนดอนาคตขององค์กร ใช้แรงกระตุ้นอย่างไรเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ • ป้องกันและหยุดความขัดแย้ง ความขัดแย้งในองค์กรอาจไม่ชอบเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงาน ต้องคาดเดาความขัดแย้ง มีทักษะ ประนีประนอมเพื่อแก้ไขสถานการณ์ • นำคนที่เกี่ยวข้องในองค์กร ต้องมความเป็นผู้นำ

  12. ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ กระตุ้นผู้อื่น ผู้บริหารต้องสร้างแรงกระจุ้นให้แก่พนักงาน จัดการความเปลี่ยนแปลง องค์กรส่วนใหญ่อยู่ในสภาพการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้องสามารถจัดการเปลี่ยนแปลงได้และทำให้ทุกคนตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง การจัดการสภาวะวิกฤต จะต้องรักษาความเชื่อมั่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ ต้องสามารถบรรเทาปัญหาความขัดแย้ง การประนีประนอม มีความสามารถในการประนีปรานอมผู้ที่อยู่ภายในองค์กร การตัดสินใจ การวางแผน ความมีวินัยและจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้อย่างยุติธรรม การแบ่งปันทรัพยากรและงบประมาณ

  13. ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ • การตัดสินใจ ผู้บริหารต้องกล้าตัดสินใจ • การวางแผน ต้องเริ่มและพัฒนาแผนกลยุทธ์ • ความมีวินัยและความทุกข์ ผู้บริหารจะต้องมีนโยบายกับเรื่องที่ขัดต่อวินัย และเรื่องที่ทำให้เกิดความไม่เป็นสุขในองค์กรด้วยจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้อย่างยุติธรรม • การแบ่งปันทรัพยากรและงบประมาณ ผู้บริหารต้องสามารถจัดการทรัพยากรทั้งหมดเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่สุด ไม่ว่าจะเป็นบุคลากร การผลิต ผลงาน การลงทุน การจัดการและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ

  14. องค์ประกอบระบบสารสนเทศ องค์ประกอบระบบสารสนเทศ Technology Information System • Organization Management MIS for Admin

  15. สารสนเทศเพื่อการบริหาร สารสนเทศเพื่อการบริหาร องค์ประกอบสำคัญภายในองค์กรที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ • กลยุทธ์ (Strategy) คือการกำหนดนโยบาย แนวทาง เป้าหมายในการดำเนินงานขององค์กร เพื่อให้ทุกหน่วยงานมองเห็นเป้าหมายเดียวกัน • กฎเกณฑ์ (Rules) หมายถึง ข้อกำหนดในการดำเนินงานสู่เป้าหมายขององค์กร • ขั้นตอน (Procedures) หมายถึง วิธีการดำเนินงานตามข้อกำหนดที่ตั้งขึ้น เพื่อบรรลุเป้าหมายในภาพรวมขององค์กร

  16. ระบบสารสนเทศที่ดีควรประกอบด้วย ระบบสารสนเทศที่ดีควรประกอบด้วย • ซอฟท์แวร์ (Software) • ฮาร์ดแวร์(Hardware) • ฐานข้อมูล (Data base) • โทรคมนาคม (Telecommunication)

  17. ระบบสารสนเทศ (Information System) ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ กลุ่มของระบบงานที่ประกอบไปด้วย ฮาร์ดแวร์ หรืออุปกรณ์ และซอฟท์แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อการจัดการตัดสินใจและควบคุมการดำเนินงานภายในองค์กร นอกจากนี้ยังช่วยในการประสานงานขององค์ด้วย (Laudon C. Kennth and Jane P.Lundon., 1998) ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายประการหนึ่ง คือ การประมวลผลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

  18. Key Issues • ระบบสารสนเทศ • Transaction Processing Systems (TPS) • Management Information Systems (MIS) • Decision Support Systems (DSS) • Executive Information Systems (EIS) • Office Automation (OA) • Expert Systems (ES)

  19. Information System - Classification By Support Function • 5-year sales trend • Profit Planning • 5-year budget forecasting • Product development • Sales Management • Inventory Control • Annual budget • Production Scheduling • Cost Analysis • Pricing Analysis Executive Support System Management Information System Decision Support System Intelligent Support Systems • Simulation • Pgm coding • System support • Word Processing • Desktop Publishing Knowledge Management System Office Automation System • Order Processing • Fulfillment • Material Movement • A/R, A/P, GL • Payroll • POS Transaction Processing System

  20. สารสนเทศ สารสนเทศ(information) หมายถึงการนำข้อมูลที่ตรงกับความต้องการ (Raw data)ไม่ว่าจะเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข รูปภาพ และอื่นๆ ไปประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการที่เรียกว่า สารสนเทศ ที่ผู้ใช้สามารถนำไปช่วยในการตัดสินใจ การวางแผนกำหนดนโยบาย การจัดการขององค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ถูกต้องและรวดเร็ว

  21. คุณสมบัติของสารสนเทศสำหรับผู้บริหารคุณสมบัติของสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ใช้งานง่าย ความถูกต้องชัดเจน ความทันต่อการใช้งาน ความสมบูรณ์ครบถ้วนและมีคุณสมบัติเชิงปริมาณพอเพียง ความกระทัดรัดชัดเจน โครงสร้างของระบบตรงกับความต้องการ ขยายระบบได้ ยอมรับได้ในทุกระดับ เป็นระบบอิสระไม่ผูกพันเทคโนโลยี สามารถตรวจสอบได้

  22. ชนิดของสารสนเทศ • Structured • เป็นสารสนเทศรายละเอียด ปัจจุบัน เกี่ยวกับเหตการณ์ในอดีต บันทึกข้อเท็จจริงในช่วงเวลาสั้นๆ เป็นสารสนเทศภายในองค์กร • Semistructured • เป็นสารสนเทศทั้งแบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง. • Unstructured • เป็นรายงานสรุป สารสนเทศเกี่ยวกับเหตุการณในอนาคตบันทึกข้อเท็จจริงในระยะยาวเป็นสารสนเทศภายในและภายนอกองค์กร.

  23. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ การสื่อสารโทรคมนาคม การจัดการฐานข้อมูล และเทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ (O’Brien, 2001) ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือ ระบบที่รวบรวม ประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผน การพัฒนาตัดสินใจ ประสานงานและควบคุมการดำเนินงาน

  24. องค์ประกอบระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์องค์ประกอบระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Information Systems : CBIS) มีองค์ประกอบที่สำคัญ 5 ส่วนคือ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอร์ฟแวร์ (Software) • ฐานข้อมูล (Database) • เครือข่าย (Network) • กระบวนการ (Procedure) • คน (People)

  25. บทบาทของนักบริหารและ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารสนเทศ • กำหนดสารสนเทศทีต้องการ(what) โดยพิจารณาจากลักษณะงาน หรือหน้าที่ของหน่วยงาน • พิจารณาเวลา (when) ที่ต้องใช้สารสนเทศนั้น เพื่อกำหนดเวลารวบรวม ประมวลผล จัดทำรายงาน • ทราบว่าจะหาสารสนเทศดังกล่าวได้ที่ไหน (where) จากแหล่งข้อมูลภายใน หรือภายนอก • เข้าใจว่าทำไม (why) จึงต้องมีสารสนเทศนั้น ทราบถึงสาเหตุในการเก็บรวบรวมข้อมูล

  26. บทบาทของนักบริหารและ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารสนเทศ • ทราบว่าผู้ใช้สารสนเทศคือใคร(for whom) เพื่อจะได้จัดทำรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสม • จะใช้เครื่องมืออะไร(how) ในการเก็บรวบรวม ประมวล รักษาสารสนเทศ • สามารถเข้าใจความหมายของสารสนเทศที่หามาได้ • สามารถดำเนินการหรือปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม • ใช้สารสนเทศอย่างถูกต้องตามกฎหมายและอย่างมีจริยธรรม

  27. แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ การศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จำเป็นต้องอาศัยความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนั้นระบบสารสนเทศจึงมีลักษณะเป็น สหวิทยาการ (multidisciplinary) ดังนั้น จึงแบ่งการศึกษาระบบสารสนเทศออกเป็น 3 แนวทางคือ (Laudon, 1999) • แนวทางด้านเทคนิค (Technical Approach) • แนวทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Approach) • แนวทางการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีและสังคม (Sociotechnical Systems)

  28. แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางด้านเทคนิค Technical Approach คอมพิวเตอร์ Computer science วิจัยเชิงปฏิบัติการ Operation Research MIS วิทยาการการจัดการ Management Science องค์การ Organization จิตวิทยา Psychology สังคมวิทยา Sociology แนวทางด้านพฤติกรรม Behavioral Approach

  29. แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางด้านเทคนิคเน้นเรื่องเทคโนโลยีด้านกายภาพ และความสามารถในด้านเทคนิคของระบบ ความรู้ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่ • วิทยาการจัดการ »เน้นเรื่องการพัฒนาโมเดลในการตัดสินใจและการจัดการ • Computer Science »สนใจการสร้างทฤษฎีและวิธีการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิธีเก็บรวบรวมและการเข้าถึงข้อมูล • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ »เน้นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุด ในการบริหาร การทำงาน

  30. แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางด้านพฤติกรรม เน้นที่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรมการบริหาร รวมทั้งนโยบายองค์กร ความรู้ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่ • วิชาองค์กรและการจัดการ »ช่วยในการพิจารณาว่ากลุ่มหรือองค์กรจะพัฒนาระบบอย่างไร และระบบนั้นจะมีผลต่อบุคคลอย่างไร • วิชาจิตวิทยา »ช่วยศึกษาพฤติกรรมของคนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีในองค์การ • สังคมวิทยา »เป็นเรื่องผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อกลุ่ม องค์การ และสังคม

  31. แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางการผสมผสานด้านเทคนิคและสังคม แนวคิดนี้เป็นการผสมผสานแนวคิดด้านเทคนิคและพฤติกรรมเข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดดุลยภาพระหว่างความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพของการทำงาน แนวคิดนี้ เชื่อว่าองค์กรมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ประการ คือ งาน คน โครงสร้าง และเทคโนโลยี หากมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหนึ่งจะส่งผลต่อปัจจัยอื่น ๆ ด้วย

  32. ประโยชน์ของสารสนเทศ สารสนเทศที่ดีมีประโยชน์ในด้านต่อไปนี้ • ประสิทธิภาพ (Efficiency) • ประสิทธิผล (Effectiveness) • ความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) • คุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Working Life)

  33. ประโยชน์ของสารสนเทศ ประสิทธิภาพ (Efficiency) • ระบบสารสนเทศทำให้การปฏิบัติงานมีความรวดเร็ว • ระบบสารสนเทศช่วยในการเข้าถึงข้อมูลขนาดใหญ่ได้อย่างรวดเร็ว • ระบบสารสนเทศช่วยให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว • ช่วยลดต้นทุน • ช่วยให้การประสานงานระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เป็นไปได้ด้วยดี

  34. ประโยชน์ของสารสนเทศ ประสิทธิผล (Effectiveness) • ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ ส่งผลให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้ • ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิตสินค้า/บริการที่เหมาะสม • ระบบสารสนเทศช่วยในการปรับปรุงคุณภาพของสินค้า/บริการให้ดีขึ้น, ทำได้ถูกต้องและรวดเร็วขึ้น, ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้ดีขึ้น

  35. ประโยชน์ของสารสนเทศ ความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) มีการนำสารสนเทศมาใช้และทำให้เกิดการบริหาร/จัดการงานแบบใหม่ เช่น Supply Chain Management, Good Governance, Customer Relationship Management-CRM, E-Business, E-Government, E-commerce, Re-engineering, Knowledge Management, Virtual Organization เป็นต้น

  36. ประโยชน์ของสารสนเทศ คุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Working Life) เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดเครื่องมือการทำงานแบบใหม่ เช่น Internet, E-mail, Hand phoneและทำให้เกิดการทำงานรูปแบบใหม่ ๆ เช่น ระบบ Tele/Video Conferencing, Electronic Data Interchange, Virtual Organizationเป็นต้น ซึ่งทำให้ประหยัดทรัพยากร และเพิ่มคุณภาพการเป็นอยู่ของคนได้

  37. ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศ กับองค์กรและการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นเรื่องการออกแบบและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ประมีประสิทธิผล โดยจะต้องเข้าใจถึงสิ่งแวดล้อม โครงสร้างหน้าที่การทำงาน วัฒนธรรม การเมือง ภายในองค์การ ตลอดจนบทบาทของผู้บริหารและระบบการตัดสินใจ

  38. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ ฐานความรู้ถือเป็นทรัพย์สินที่มีความสำคัญขององค์การ การแข่งขันด้านธุรกิจต้องอาศัยความรู้ในด้านกระบวนการต่าง ๆ ดังนั้น ทฤษฎีการจัดการบางทฤษฎีจึงเชื่อว่า ทรัพย์สินทางความรู้มีความสำคัญต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและความอยู่รอดขององค์การมากกว่าทรัพย์สินทางกายภาพและทรัพย์สินทางการเงิน (Laudon, Laudon, 2002)

  39. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ความรู้ คือสารสนเทศที่มีคุณค่ามากที่สุด เพราะเป็นสารสนเทศที่ผสมผสานเข้ากับประสบการณ์ วิจารณญาณ และปัญญาของคนเข้าไปด้วย ความรู้จำแนกเป็นสองประเภทคือ • ความรู้แบบไม่ชัดแจ้ง (Tacit Knowledge) คือ ความรู้ที่มีเนื้อหาเฉพาะเจาะจง ยากที่จะสื่อสารให้คนอื่นทราบหรือเข้าใจได้ง่าย ต้องอาศัยทักษะในการฝึกฝน เช่น การว่ายน้ำ การขี่จักรยาน เป็นต้น • ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) คือความรู้ที่สามารถรวบรวม จัดระบบ และถ่ายทอดโดยใช้ IT ได้ เช่น ความรู้ที่ได้จากหนังสือหรือตำราต่าง ๆ เป็นต้น

  40. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การจัดการความรู้ คือ กระบวนการที่สำคัญในการสร้าง จัดระบบ และถ่ายทอดความรู้อย่างทั่วถึงภายในองค์กร เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน หรือทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากขึ้น องค์ประกอบของ Knowledge Management มีดังนี้ • การสร้างความรู้ • การจัดระบบความรู้ • การถ่ายทอดความรู้

  41. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การสร้างความรู้ คือ การแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นในองค์กร โดยผ่านกลไก การเรียนรู้ อาทิ การวิจัยและพัฒนา การร่วมกันแก้ไขปัญหา, การพัฒนาเครือข่าย, หรือการพัฒนาผ่านเครือข่ายเป็นต้น การจัดระบบความรู้ เมื่อความรู้ได้สร้างขึ้นแล้ว จะมีกระบวนการต่อเนื่องในการจัดระบบความรู้ รวมถึงการแสดงความรู้ในลักษณะที่ง่ายต่อการเข้าถึงหรือถ่ายโอน การถ่ายทอดความรู้ คือ การนำความรู้ที่มีอยู่ถ่ายทอดไปยังบุคคลอื่น หรือหน่วยงานอื่น เช่นการใช้เครือข่ายในองค์กร หรือการใช้ซอร์ฟแวร์สำหรับทำงานเป็นกลุ่ม

  42. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เฮอร์ไชม์ (Hirscheim, 1985) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกได้ 3 กลุ่มคือ • กลุ่มที่มองผลกระทบในด้านบวก (optimism) • กลุ่มที่มองผลกระทบในด้านลบ (Pessimisms) • กลุ่มที่มองผลกระทบในลักษณะสัมพันธ์ (Relativism)

  43. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิดที่มองในด้านบวก • แนวคิดนี้ซึมลึกอยู่ในวัฒนธรรมของอเมริกัน โดยมีสมมติฐานว่า ITไม่ควรได้รับการปฏิเสธไม่ว่าภายใต้สถานการณ์ใด ๆ แต่ควรจะมีการนำไปใช้อย่างแพร่หลายและรวดเร็ว • แนวคิดนี้เชื่อว่า ITเป็นยาสารพัดโรคที่แก้ปัญหาทุกอย่างได้ • แนวคิดนี้เชื่อว่า ITมีลักษณะเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ในการควบคุมกระบวนการทำงานภายในองค์กร • แนวคิดนี้เชื่อว่า ITจะนำไปสู่การจ้างงานเพิ่มขึ้น, ทำให้มีการกระจายอำนาจมากขึ้น, ทำให้การติดต่อสื่อสารดีขึ้น, ช่วยเพิ่มผลผลิต

  44. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิดที่มองในด้านลบ • แนวคิดนี้มองว่า องค์กรประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีความขัดแย้ง และกลุ่มที่มีอำนาจเหนือกว่าจะนำ ITเข้ามาใช้ในการควบคุมการทำงาน • กลุ่มนี้มองว่า ITจะนำไปสู่การจ้างงานที่ลดลง, ทำให้มีการรวมศูนย์อำนาจมากขึ้น, ทำให้มีสารสนเทศมากเกินไป และไม่ได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในผลผลิตที่แท้จริงแต่อย่างใด • กลุ่มนี้มองว่า ITทำให้การทำงานเป็นลักษณะประจำ, น่าเบื่อ, ทำให้ความพอใจและคุณภาพชีวิตการทำงานลดลง • กลุ่มนี้มองว่า ITทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ,สังคม ฯลฯ

  45. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิดเชิงสัมพันธ์ • กลุ่มนี้มองว่า IT จะเป็นตัวแปรแทรกระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างคนและองค์การ • กลุ่มนี้มองว่า ITจะเป็นบวกหรือลบขึ้นอยู่กับการสร้างและการใช้เทคโนโลยี • กลุ่มนี้มองว่า การออกแบบ IT ที่ดี คือ การสร้างดุลยภาพระหว่างความพอใจของผู้ใช้และประสิทธิภาพด้านเทคนิค การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ที่ดีไม่เพียงแต่ช่วยให้งานประสบความสำเร็จ แต่ยังช่วยให้คนมีความพอใจในการทำงานเพิ่มขึ้นด้วย

  46. What is Enterprise Computing? Next What is an enterprise? เป็นองค์กรขนาดใหญ่ เช่น multinational corporation, university, hospital, research laboratory, or government organization ต้องการการคำนวณในการแก้ปัญหาเนื่องจากมีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก Enterprise computing—ใช้คอมพิวเตอร์ระบบเครือข่าย ที่มีระบบการทำงานที่แตกต่างกันของระบบปฏิบัติการ โปรโตคอล และสถาปัตยกรรมเครือข่าย p. 714

  47. What is Enterprise Computing? Next • การไหลของสารสนเทศในองค์กรขนาดใหญ่? • องค์กรขนาดใหญ่จะมีการจัดการขอมูลจำนวนมากที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกันในกลุ่มหรือนอกกลุ่มเครือข่าย p. 714 Fig. 14-1

  48. What is Enterprise Computing? Next What are the four categories of users? Executive managementstrategic decisions Middle managementtactical decisions Operational managementoperational decisions Nonmanagement employeeson-the-job decisions p. 717

  49. What is Enterprise Computing? Next What is enterprise information? Information ช่วยในการดำเนินงานขององค์กร รวบรวม ผสาน และวิเคราะห์ข้อมูลทันเวลา ช่วยในการตัดสินใจที่ดีกว่า p. 718

  50. ระดับปฏิบัติการ (Operational Level)( Lower Manager) • เป็นการปฏิบัติงานประจำ กิจกรรมในการทำงานแต่ละวันกับลูกค้า • ดูแลและควบคุมการทำงานในการปฏิบัติงาน • การตัดสินใจ (Operational Decision) • เป็นแบบมีโครงสร้าง • การทำงานซ้ำๆ • ระบบสารสนเทศ (Information system) • กิจกรรมที่มีรูปแบบซ้ำๆกัน • มีการตรวจสอบมีประสิทธิภาพการทำงานกับลูกค้า

More Related