1 / 20

วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น

วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น. นโยบายการศึกษา. ความหมายของนโยบายการศึกษา. - หลักการที่กำหนดขึ้น เพื่อเป็นแนวปฏิบัติ - เป็นนโยบายสาธารณะ ที่รัฐบาลตั้งใจจะทำ - เป็นการแก้ปัญหา หรือพัฒนาการศึกษาของประชาชน - สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ปรัชญา

Download Presentation

วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นวิชานโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น นโยบายการศึกษา

  2. ความหมายของนโยบายการศึกษาความหมายของนโยบายการศึกษา - หลักการที่กำหนดขึ้น เพื่อเป็นแนวปฏิบัติ - เป็นนโยบายสาธารณะ ที่รัฐบาลตั้งใจจะทำ - เป็นการแก้ปัญหา หรือพัฒนาการศึกษาของประชาชน - สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ปรัชญา - เป็นเครื่องแนะแนวทางในการปฏิบัติการ ทางการศึกษา

  3. ประเภทของนโยบายทางการศึกษาประเภทของนโยบายทางการศึกษา 1.นโยบายทั่วไป (General Policy)เป็นแนวทางในการจัดการศึกษากว้างๆ ให้แก่ประชาชน เป็นกฎหมาย ข้อบังคับของรัฐบาล มีบทลงโทษหรือข้อห้าม - พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542แก้ไข(ฉบับที่ 2) 2545 - แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545-2559 - แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 - กฎกระทรวง ฯลฯ - นโยบายรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

  4. ประเภทของนโยบายทางการศึกษาประเภทของนโยบายทางการศึกษา 2.นโยบายเฉพาะส่วน (Departmental Policy)เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาระดับต่างๆ - ระดับแรกเกิด เช่น การศึกษาแก่เด็กแรกเกิด - ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น เรียนฟรีอย่างมีคุณภาพ 15 ปี - ระดับอาชีวศึกษา เช่น ครัวไทยสู่ครัวโลก - ระดับอุดมศึกษา เช่น กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา

  5. ประเภทของนโยบายทางการศึกษาประเภทของนโยบายทางการศึกษา 3. นโยบายระดับผู้ปฎิบัติ (Implemental Policy)เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษา กำหนดขึ้นภายใต้ความเห็นชอบของรัฐบาล หรือรัฐมนตรีว่าการ อันได้แก่ นโยบายของ - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : สพฐ. - สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา : สอศ.- สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา : สกอ. - กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา- กระทรวงวัฒนธรรม- กระทรวงสาธารณสุข

  6. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย การกำหนดนโยบาย เป็นศาสตร์ของการวางแผนขั้นต้น มีกระบวนการ คือ1. การก่อตัวของนโยบาย(Policy Formation)1.1การวิเคราะห์สภาพปัญหา : ปัญหาสาธารณะหรือไม่ : ประชาชนต้องการแก้ไขโดย ภาครัฐ1.2รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ จากกลุ่มประชาชน กลุ่มอาชีพ หรือผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม2.การวิเคราะห์ปัญหา(Problem Analysis)2.1 การจัดกลุ่มสภาพปัญหา2.2การิเคราะห์หาสาเหตุแห่งปัญหาของแต่ละกลุ่ม : หาความสัมพันธ์ ระหว่าง สาเหตุ กับ ผลกระทบ2.3จัดลำดับความสำคัญของปัญหา โดย(1)ระดมความคิดเห็น (Brain storming)(2)ใช้การวิเคราะห์(3)ใช้แผนภูมิก้างปลา (Fishbone Diagram)(4)ใช้การวิจัย

  7. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย 3. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาเชิงนโยบาย3.1จัดโดยยึดเกณฑ์สถาบันพัฒนาสังคมแห่งสหประชาชาติ(ปกรณ์ ปรียากร, 2534) - จำนวนคนที่ได้รับผลกระทบ- ความร้ายแรงเร่งด่วน- ความเสียหายในอนาคต- ความรู้สึกร่วมกันของชุมชน- ความเป็นไปได้ในการแก้ไข 3.2การกำหนดค่าน้ำหนักของแต่ละหัวข้อ ล่วงหน้าตามความสำคัญ สูงมาก = 5 สูง = 4ปานกลาง = 3ต่ำ = 2ต่ำมาก = 1

  8. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย 3.3ลำดับปัญหาที่เกิด ใช้ความคิดเห็นของกลุ่มคน เกิดมากที่สุด = 5 เกิดมาก = 4เกิดปานกลาง = 3เกิดน้อย = 2เกิดน้อยมาก = 1

  9. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย 3.3 การจัดทำตารางเพื่อลำดับความสำคัญของปัญหา 4 4 2 3 2 คะแนน1.แถวที่ 1ค่าน้ำหนักล่วงหน้า ตั้งแต่ 5 – 12. แถวที่ 2ค่าคะแนนจากสภาพปัญหาที่เกิด3. แถวที่ 3ผลคูณ แถว 1 x แถว 2 3.4 การจัดลำดับความสำคัญตามคะแนนช่องรวม เพื่อไปกำหนดเป็นนโยบาย

  10. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย 4. นำปัญหาไปจัดทำร่างนโยบายและแผนต่างๆ4.1วางข้อกำหนด ที่เป็นจุดมุ่งหมาย(Purpose) วัตถุประสงค์ (Objective)เป้าหมาย (Target)ไว้ จุดมุ่งหมาย สภาพที่ต้องการ ปัญหา ผลงาน/ผลผลิตที่จะทำขึ้น สาเหตุ วัตถุประสงค์ ปริมาณ คุณภาพพื้นที่ กลุ่มคน เป้าหมาย

  11. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย 4.2การเสนอทางเลือกต่างๆ (Alternatives)(1) แนวทางการทำงาน(2) ทรัพยากร / เทคโนโลยี(3) มาตรการในกิจกรรมต่างๆ4.3การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ ด้านต่างๆ (1)ประสิทธิผล (Productivity)(2)ต้นทุน (Cost) (3) ผลตอบแทน (Benefit)(4) ปัจจัยอื่นๆ4.4การจัดลำดับทางเลือก จากการ Brain Storming

  12. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย 4.5การจัดทำร่างนโยบาย (1) หลักการและเหตุผล(2) ระบุปัญหา และสาเหตุ(3) ผลกระทบ(4) ความสำคัญ4.6การกำหนดจุดมุ่งหมาย หรือสภาพที่ต้องการให้เกิด 4.7การกำหนดจุดประสงค์ ผลงาน ผลผลิตเพื่อขจัดสาเหตุ4.8การกำหนดเป้าหมาย เชิงปริมาณ คุณภาพ พื้นที่ กลุ่มคน4.9การกำหนดแนวทาง หรือวิธีการในการปฏิบัติ4.10การกำหนดมาตรการ ว่าองค์กร/บุคคลใดรับผิดชอบ เกณฑ์ และทรัพยากรอย่างไร4.11ข้อมูลอื่นๆ

  13. กระบวนการในการกำหนดนโยบายกระบวนการในการกำหนดนโยบาย กระบวนการในการกำหนดนโยบาย 5. การเสนอนโยบาย5.1จัดวาระ : ขั้นพิจารณา : อนุมัติ / ไม่อนุมัติ -> ประกาศ5.2ผู้เกี่ยวข้องตรวจพิจารณา5.3ใช้เทคนิคการประชุม การเจรจาต่อรอง ระเบียบ ข้อพึงสังวร : การเสนอนโยบายType I error : ปฏิเสธทุกทางเลือกที่เสนอType II error: เลือกทางที่ผู้เสนอไม่ได้นำเสนอType III error: เลือกทางผิด

  14. หลักสำคัญของการกำหนดนโยบาย แบบ SMART S : Sensible : มีความเป็นไปได้M : Measurable : วัดได้A : Attainable : บรรลุได้R : Reasonable : มีเหตุผลT : Measurable : มีกำหนดเวลา

  15. การวิเคราะห์นโยบายทางการศึกษาการวิเคราะห์นโยบายทางการศึกษา 1.ช่วยผู้กำหนดนโยบาย เพื่อพิจารณาว่า ปัญหาที่ควรให้ความสนใจคืออะไร (ปัญหาเชิงนโยบาย : Policy Problem)2.เสนอทางเลือก หรือแสวงหาทางเลือกที่เป็นไปได้ ในการแก้ไขปัญหา (The Possible Way)3.วิเคราะห์ให้เห็นถึง “ผลที่อาจเกิดขึ้น” จากการตัดสินใจเลือกทางเลือก แต่ละทาง4.จัดลำดับทางเลือก (Priority)ตามบรรทัดฐาน ที่ผู้มีอำนาจตัดสินใจ กำหนด หรือเสนอทางเลือกต่างๆ พร้อมข้อมูลเพื่อให้จัดลำดับทางเลือกเอง

  16. การวิเคราะห์นโยบายทางการศึกษาการวิเคราะห์นโยบายทางการศึกษา ก. ตัวแบบการวิเคราะห์นโยบาย Edward S. Quade, 1982 1.การวิเคราะห์การกำหนดวัตถุประสงค์ (The Objectives) - สภาพการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ เป็นอย่างไร2.การวิเคราะห์ทางเลือก (The Alternatives)- เป็นการเลือกแบบ Possible waysเพียงใด3.การประเมินผลกระทบของนโยบาย (The Impacts or out comes) - ผลกระทบทางดี คืออะไร - ผลกระทบทางไม่ดี คืออะไร4.การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติ (The Criteria) - มาตรฐานจำเป็นในการดำเนินการในแต่ละทางเลือก - มาตรการ/วิธีการวัดมาตรฐาน5. การกำหนดรูปแบบ (The Models)วิธีการและขั้นตอนวิเคราะห์- การประเมินผล - การสรุปและเสนอแนะ

  17. การวิเคราะห์นโยบายทางการศึกษาการวิเคราะห์นโยบายทางการศึกษา ข. ตัวแบบการวิเคราะห์นโยบาย William N. Dunn, 19811.การระบุปัญหา (The Problem) วิเคราะห์เพื่อ- ทราบปัญหา - ทราบแนวทางแก้ไข2.การพยากรณ์ทางเลือก (The Alternatives Predictions)- คาดการณ์ความเหมาะสมของทางเลือก- ทราบจำนวนทางเลือก3.การเสนอวิธีการ (The Actions) - ความเหมาะสม - ความเป็นไปได้4.การติดตามผลงาน (The Outcomes) - ทราบผลผลิต (Out puts) - ทราบผลลัพธ์ (Outcomes) - ทราบผลกระทบ (Impact)5. การประเมินนโยบาย - สรุปผล - ข้อเสนอแนะการจัดทำนโยบาย

  18. สรุปกระบวนการสร้างนโยบายสรุปกระบวนการสร้างนโยบาย 1.การก่อตัวของนโยบาย (Policy Formation)2.การเสนอนโยบาย (Policy Formulation)3.การอนุมัตินโยบาย (Policy Adapt ion)4.การนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation)5. การประเมินนโยบาย (Policy Evaluation)

  19. การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ หมายถึง การจัดวิธีดำเนินการ หรือนำนโยบายไปกระทำให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ การอกกฎหมาย คำสั่ง มติ แนวปฏิบัติแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม เพื่อให้นโยบายบรรลุตามวัตถุประสงค์ กระบวนการนำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติของ Paul a.Sabatier and Denniel A. Mazmanian, 1983 : 143 จัดตั้งหน่วยงาน / บุคคล แปลงนโยบายเป็นแนวปฏิบัติ/คู่มือ ประสานงานดำเนินงานและทรัพยากรกลุ่มเป้าหมาย การจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการปฏิบัติ

  20. ที่มา • http://www.nb2.go.th/~ktu/subject/1065103/policy02.ppt#286,1,ภาพนิ่ง 1 • สืบค้นวันที่ 14 สิงหาคม 2552

More Related