1 / 25

บทที่ 1 1

การคลังรัฐวิสาหกิจ. บทที่ 1 1. โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว สายวิชาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หัวข้อ. ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างการคลังภาครัฐบาล กับการคลังรัฐวิสาหกิจ ประเภท โครงสร้าง และรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ การคลังรัฐวิสาหกิจ

arvid
Download Presentation

บทที่ 1 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคลังรัฐวิสาหกิจ บทที่ 11 โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว สายวิชาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. หัวข้อ • ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจ • ความสัมพันธ์ระหว่างการคลังภาครัฐบาล กับการคลังรัฐวิสาหกิจ • ประเภท โครงสร้าง และรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ • การคลังรัฐวิสาหกิจ • การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

  3. ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจความสำคัญของรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ หมายถึง องค์กรของรัฐบาล หรือหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของหรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมีทุนอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ 50 คำบางคำ State enterprise = รัฐวิสาหกิจ เป็นกิจการที่รัฐถือหุ้นเกิน 50% National enterprise = เครือข่ายระดับชาติ Nationalization = รัฐเอาธุรกิจเอกชนมาดำเนินการเอง Privatization = เอกชนดำเนินการแทนรัฐ

  4. ความเป็นมาของรัฐวิสาหกิจความเป็นมาของรัฐวิสาหกิจ -เพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินธุรกิจแทนรัฐ -เพื่อเป็นตัวอย่างแก่ภาคเอกชนในการดำเนินธุรกิจ -เพื่อความมั่นคงของประเทศ -เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมและบริการสังคม ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจ -กระทบต่อการจัดหาเงินทุนให้แก่รัฐวิสาหกิจ เนื่องจากการขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน -กระทบต่อการลงทุน เนื่องจากมีการลงทุนมาก -กระทบฐานะการเงินระหว่างประเทศ เนื่องจากมีการก่อหนี้จำนวนมาก -กระทบภาระทางงบประมาณ จาการจัดสรรเงินอุดหนุนรัฐวิสาหกิจ -กระทบการจัดเก็บรายได้จากภาษีของรัฐบาล จากที่รัฐวิสาหกิจไม่ต้องเสียภาษีบางประเภท เช่น ภาษีเงินได้นิติบุคคล -กระทบประสิทธิภาพการผลิตโดยรวมของประเทศให้ต่ำลง

  5. ความสัมพันธ์ระหว่างการคลังภาครัฐบาล กับการคลังรัฐวิสาหกิจ • การได้รับเงินอุดหนุนจากงบประมาณรายจ่ายรัฐบาล เพื่อ ชดเชยการขาดทุน เงินลงทุน งบดำเนินการ เพิ่มการลงทุน • การได้รับเงินงบประมาณรายจ่ายเพื่อชำระหนี้ที่รัฐวิสาหกิจก่อไว้ • การนำส่งกำไรเป็นรายได้แผ่นดิน (ต่อกำไรประจำปี) รัฐวิสาหกิจผูกขาด เช่น โรงงานยาสูบ 80% รัฐวิสาหกิจกึ่งผูกขาด เช่น องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 50% รัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค เช่น กฟผ. 30% รัฐวิสาหกิจประเภทอุตสาหกรรม เช่น องค์การเภสัชกรรม 40% รัฐวิสาหกิจประเภทอื่น เช่น โรงรับจำนำ 25% รัฐวิสาหกิจประเภทบริษัท ตามสมควร

  6. ประเภทของรัฐวิสาหกิจ • ประเภทหารายได้เข้ารัฐ เช่น โงงานยาสูบ สลากกินแบ่ง • ประเภทสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ >สาธารณูปโภค เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย >สาธารณูปการ เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย • ประเภทที่ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐ >สถาบันการเงิน เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร >อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ >เกษตรกรรมและพานิชยกรรม เช่น องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย >ส่งเสริม เช่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

  7. ประเภทของรัฐวิสาหกิจ(ต่อ)ประเภทของรัฐวิสาหกิจ(ต่อ) • ประเภทที่ตั้งขึ้นโดยวัตถุประสงค์เดิมเพื่อความมั่นคง เช่น องค์การฟอกหนัง • ประเภทที่ตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด • รัฐวิสาหกิจที่ไม่ได้จัดประเภทไว้ เช่น ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

  8. การคลังรัฐวิสาหกิจ • รายจ่ายของรัฐวิสาหกิจ งบทำการ ตั้งไว้สำหรับการดำเนินการ งบลงทุน ตั้งไว้เพื่อการขยายงานและทดแทนสินทรัพย์เดิม • รายได้รัฐวิสาหกิจ จากงบประมาณแผ่นดิน ในรูปเงินเพิ่มทุน เงินอุดหนุน เงินกู้ จากเงินกู้ทั้งภายในและภายนอกประเทศ จากเงินรายได้ของรัฐวิสาหกิจเอง

  9. ผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงิน ภาพรวมรัฐวิสาหกิจ(ไม่รวม ธนาคารแห่งประเทศไทย และกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน)

  10. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • ความหมาย เป็นมาตรการหนึ่งที่รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจนำมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินการของรัฐวิสาหกิจ • ประเภทของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 1) การถอนตัวจากการผลิต โดยการขายทิ้งกิจการทั้งหมดหรือบางส่วน 2) ให้เอกชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ โดยการกระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ 3) การร่วมลงทุนระหว่างรัฐบาลกับเอกชน 4) การจ้างเหมา โดยการจ้างเอกชนดำเนินการแทนรัฐบาล 5) การให้สัมปทาน ให้สิทธิ์เอกชนดำเนินการ แต่ต้องให้ผลประโยชน์แก่รัฐ 6) การให้เช่า ให้เอกชนเช่าทรัพย์สินดำเนินการ และจ่ายค่าเช่าให้รัฐบาล 7) การเพิ่มเสถียรภาพการดำเนินการ โดยการผ่อนคลายกฎระเบียบ

  11. เหตุผลสำหรับการเป็นเจ้าของโดยรัฐเหตุผลสำหรับการเป็นเจ้าของโดยรัฐ กลไกในการเจริญเติบโต ความยุติธรรมและการกระจายที่ทั่วถึง เพื่อควบคุมอำนาจในการผูกขาด เหตุใดรัฐจึงเป็นเจ้าของกิจการ มีอำนาจต่อประชาชน เครื่องกันปะทะทางการเมือง ผู้อุปการะทางการเมือง

  12. แรงกดดันให้เกิดการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แรงกดดันเรื่องหนี้ ภาษี การขาดทุน ความไม่พอใจต่อประสิทธิภาพการดำเนินการ การเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรม เทคโนโลยี และโลกาภิวัฒน์ ผลกระทบจากการแปรรูป การประสบความสำเร็จในต่างประเทศ (อังกฤษ) ความจำเป็นเรื่องทุนมีมีขนาดใหญ่โต ตลาดผลผลิตและตลาดเงินระหว่างประเทศ

  13. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 หลักการบริหารยุคใหม่ โดยปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ จาก “การจัดการ” เป็น “การนำ”

  14. สาเหตุของการแปรรูป/ปัจจัยที่นำไปสู่การแปรรูปรัฐวิสาหกิจสาเหตุของการแปรรูป/ปัจจัยที่นำไปสู่การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

  15. สาเหตุที่ต้องแปรรูปรัฐวิสาหกิจสาเหตุที่ต้องแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ด้านหลักการ แยกขอบเขตระหว่างรัฐบาลและเอกชน ระบบทุนนิยม ด้านเศรษฐกิจ ระบบเสรี เหตุผล แรงงาน ประสิทธิภาพ ด้านการเมือง นักการเมืองที่ต้องการเสรีภาพทางเศรษฐกิจ นโยบายพรรคการเมือง สาเหตุที่ต้อง แปรรูป ด้านการเงิน ผลกระทบต่อการเงินภาครัฐ การก้าวสู่ตลาดการเงินโลก ลดความเสี่ยงภาครัฐ สนับสนุนตลาดหลักทรัพย์ ด้านการจัดการ จุดจบของยุคดำเนินการโดยรัฐ เสรีภาพจากการปลอดจากการ แทรกแซงของรัฐมนตรี

  16. วัตถุประสงค์ในการแปรรูปวัตถุประสงค์ในการแปรรูป -ลดปัญหาด้านการเงิน ลดการพึ่งพางบประมาณของรัฐบาล -ลดปัญหาการบริหารเดิมที่ไม่คล่องตัว ไม่มีประสิทธิภาพ -ได้รับเทคโนโลยีจากพันธมิตรจากต่างประเทศ แต่ไม่ใช่เป็นการ Take Over -เพิ่มบทบาทเอกชนในการพัฒนารัฐวิสาหกิจ -ลดภาระค่าใช้จ่ายรัฐจากที่เกิดการขาดทุน -ลดภาระหนี้สาธารณะส่วนของรัฐวิสาหกิจ -รัฐนำเงินไปลงทุนอย่างอื่นที่จำเป็น -ส่งเสริมการลงทุนและเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ขจัดการผูกขาด -เปลี่ยนจากการควบคุมการดำเนินการ มาเป็นการควบคุมผลงาน -ประชาชนและพนักงานรัฐวิสาหกิจร่วมเป็นเจ้าของรัฐวิสาหกิจโดยการถือหุ้น -พนักงานได้รับสวัสดิการที่เป็นธรรม -ให้มีระบบค่าตอบแทนที่จูงใจในการทำงาน

  17. ผู้ที่ต้องคำนึงถึง -ประชาชน -พนักงาน -รัฐบาล รูปแบบการแปรรูป 1) การทำสัญญาจ้างเอกชนให้บริหารงาน (Contract-Out) 2) การทำสัญญาให้เอกชนเช่าดำเนินการ (Lease Contract) 3) การให้สัมปทานภาคเอกชน (Concession) 4) การกระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ผdivestiture) 5) การร่วมลงทุนกับภาคเอกชน (Joint-Venture) 6) การให้เอกชนลงทุนดำเนินการแต่รัฐรับซื้อผลผลิต หรือวิธีการ Build-Onw-Operate (BOO) 7) การจำหน่ายจ่ายโอนและยุบเลิกกิจการ (Trade Sale and Liqidation)

  18. ประชาชนได้อะไรจากการแปรรูปประชาชนได้อะไรจากการแปรรูป ก่อนการแปรรูป -ไม่ใส่ใจ ไม่พัฒนาคุณภาพการบริการ -ไม่มีทางเลือกอื่น ผูกขาด -ไม่ต้องกังวลเรื่องการลงทุน -พนักงานได้ค่าตอบแทนมากกว่าภาคบริการอื่น ๆ -รัฐต้องอุ้มรัฐวิสาหกิจที่ขาดทุน หลังการแปรรูป -คุณภาพที่ดี มีศักยภาพ ประสิทธิภาพ -มีความมุ่งมั่น ใส่ใจ -มีความต่อเนื่องสืบประสานในการบริหารงาน -เป็นที่ยอมรับ/ยอมรับได้ ทั้งราคาและความรวดเร็ว -เข้าถึงได้โดยเสมอภาค

  19. -เหมาะสมกับภาวการณ์ต่าง ๆ ในขณะนั้น -สินค้าและบริการมีความปลอดภัย -ได้ผลดี -คุ้มราคา

  20. ประโยชน์จากการแปรรูป 1. ประชาชน -บริการดีมีคุณภาพ -อัตราค่าบริการสะท้อนต้นทุนแท้จริงและเป็นไปตามกลไกการแข่งขันของตลาด -การมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของโดยการถือหุ้นในรัฐวิสาหกิจ -สามารถตรวจสอบได้ 2. พนักงาน -มีส่วนเป็นเจ้าของและค่าตอบแทนในรูปเงินปันผล -ได้รับเงินและสิทธิประโยชน์เท่ากับเอกชนชั้นนำ -เพิ่มโอกาสในการเลื่อนขั้นและค่าตอบแทนตามระบบเอกชน

  21. 3. รัฐบาล -ลดภาระภาครัฐในการลงทุนรัฐวิสาหกิจ -ลดภาระการก่อหนี้ของประเทศ -พัฒนาตลาดทุนโดยการขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ -เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของรัฐจากการเปิดเสรีทางการค้าในระดับโลก (WTO) 4. รัฐวิสาหกิจ -คล่องตัวในการบริหาร -ลดการแทรกแซงจากทางการเมือง (บอร์ดรัฐวิสาหกิจ) -การตัดสินใจลงทุนรวดเร็ว

  22. กลไกที่นำไปสู่ความสำเร็จในการแปรรูปกลไกที่นำไปสู่ความสำเร็จในการแปรรูป -ผู้นำทำจริง -ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ประชาชน/พนักงาน/รัฐบาล) มีส่วนร่วม -เน้นการประเมิน ต้องมีองค์กรอิสระมาประเมิน -ยึดหลักธรรมรัฐ (Good governance) -มีความโปร่งใส (Transparency) -รับผิดชอบสามารถบริหารได้ (Accountability) -ได้ผลดังที่คาดหมาย/มีประสิทธิภาพ (Predictability) -ทุกฝ่ายในสังคมมีส่วนร่วม (Participation)

  23. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจจะเปลี่ยนเป็นการผูกขาดโดยเอกชนหรือไม่?การแปรรูปรัฐวิสาหกิจจะเปลี่ยนเป็นการผูกขาดโดยเอกชนหรือไม่? ต้องมีการแยกหน้าที่ออกจากกันชัดเจน -การกำหนดนโยบาย โดยกระทรวงเจ้าสังกัด -การกำกับดูแล โดยองค์กรอิสระ เช่น คณะกรรมการกำกับ นโยบายด้านรัฐวิสาหกิจ (กนร.) -การประกอบการ โดยรัฐวิสาหกิจ (หมายเหตุ ดูเอกสารเพิ่มเติม/ข้อมูล/ข่าว/บทความที่ -http://web.nkc.kku.ac.th/manit/document/962241_206.htm)

  24. กฎระเบียบรัฐที่เข้มงวดขึ้นกฎระเบียบรัฐที่เข้มงวดขึ้น การเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ถือหุ้นรายย่อย การจำกัดขอบเขตการเคลื่อนไหวของทั้งภาครัฐบาลและเอกชน ผลกระทบจากการแปรรูป การเพิ่มขึ้นของเจ้าของกิจการต่างประเทศ การรวมตัวของภาคอุตสาหกรรมที่ดีขึ้น ผลกำไรระดับสูง การจ้างงานลดลงข้อจำกัดทางการเงิน การเพิ่มจำนวนกิจการที่เป็นทั้งของรัฐบาลและเอกชน การดำเนินการ ผลกระทบจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

More Related