1 / 41

N orthern Neuroscience Center (2002)

Advisory board Dean Director of hospital Associate D ean s Heads of departments. Working committee Director Secretary general Treasurer Back office Business units ( 12 ). N orthern Neuroscience Center (2002). NNCC (BSU). แรงบันดาลใจของครูสู่การเรียนรู้ของทีม. บริบท

arty
Download Presentation

N orthern Neuroscience Center (2002)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Advisory board Dean Director of hospital Associate Deans Heads of departments Working committee Director Secretary general Treasurer Back office Business units (12 ) Northern Neuroscience Center (2002)

  2. NNCC (BSU)

  3. แรงบันดาลใจของครูสู่การเรียนรู้ของทีมแรงบันดาลใจของครูสู่การเรียนรู้ของทีม บริบท การจัดตั้ง OPD เฉพาะทางให้บริการโรคประสาทที่ซับซ้อนโดยมีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้านการเรียนการสอนresearchและการให้บริการชุมชน

  4. ประเด็นสำคัญ/ ความเสี่ยงสำคัญ ที่ต้องการรักษากลุ่ม 5 โรค เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น เนื่องจากกลุ่มโรคดังกล่าวมีการรักษาที่ค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้เวลานานในการตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยและจำเป็นต้องใช้อายุรแพทย์ผู้ชำนาญทางด้านประสาทเป็นผู้ประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่องเพราะอาจมีการวินิจฉัยและรักษาที่ผิดพลาด และเพื่อให้สามารถค้นพบอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ให้การรักษาอย่างรวดเร็วจะส่งผลผู้ป่วยหายหรืออยู่ในสภาพที่ฟื้นตัวเร็วขึ้น

  5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(1)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(1) 1.การดูแลรักษาและด้านวิชาการให้เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน 2. ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและรวดเร็วโดยแพทย์เฉพาะทาง ลดขั้นตอนการปรึกษาระหว่าง แผนก (one stop service)ด้วยทีมแพทย์พยาบาลผู้รักษาที่ครบถ้วน ซึ่งเป็น PCTที่ให้การบริการตามนโยบายของโรงพยาบาล 3. ลดภาวะแทรกซ้อนและเพิ่ม คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย

  6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(2)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(2) 4.มีงานวิจัยและพัฒนาการป้องกันและรักษาโรคแบบบูรณาการในอนาคต 5. สามารถกำหนดและใช้แนวทางการรักษาในแบบเดียวกัน 6. เป็นศูนย์ฝึกอบรมสำหรับแพทย์ประจำบ้านและบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆ เช่น ประสาทวิทยา ประสาทศัลยศาสตร์ อายุรแพทย์ ศัลยแพทย์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูและนักเทคนิคการแพทย์พยาบาล specialist ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ`

  7. Wednesday OPD Project • 0930 – 1200 : Special OPD • 1300- 1600 : Research / Clinical trial • Place : 9th floor NNCC

  8. Inclusion criteria : • 1 Headache OPD : These will include chronic daily headache, chronic migraine and interesting headache and also patients who are in the clinical trial. • 2. Neurodegenerative cases who are in late stage and or have long term complications in which need expertise such as Parkinson’s disease and related movement disorders , motor neurone disease , multiple sclerosis , dementia and neuromuscular disorders.

  9. Wednesdayschedule • 1st Week : Dementia / MCI : • 2nd Week : Multiple sclerosis • 3rd Week : Myasthenia gravis and related disorders • 4th Week :Parkinson ‘s & movement disorder

  10. Management Plan Human resources • Dr Siwapornwill be the supervisor • Staffs : neurology residents / medicine residents and electives : staffs from other hospital such as Prasath institute or Suanprung hospital are welcome

  11. Management Plan Human resources • Nurses : from NNC and from nursing department • Psychologists : clinical trial unit • Rehabilitation : ????

  12. Teaching plan for staffs • Staffs and residents : one day teaching course from external experts will be scheduled every 3 months . • 4-6th year medical students will be able to have the alternative teaching OPD. • NNCC staffs nurses : will have the intensive / hand on special teaching in order to be nurse specialist

  13. Management plan for patients • All cases will have own electronic medical records and special tests / measurement according to their diseases. • All cases should finish the questionnaires or measurement before they meet the doctor. • All medication will be reviewed and all medication will be counted . And all adverse effect will be filled in the follow up form

  14. Management plan for record • Headache : Headache questionnaires, headache diaries . Depression score and ADL such as MIDAS • Parkinson’s  : Parkinson’s diary , ADL , Depression , the examples of all common drug used will be shown to patients. • Dementia : MMSE , batteries of memory test • M sclerosis : questionaires ,ADL

  15. Management plan for patients • Patients waiting will have group therapy as well as group discussion and the VDO will be shown according to. • Brochures for patient information disease • Clinical practice guideline will be provided …

  16. กระบวนการให้ได้มาซึ่งคุณภาพกระบวนการให้ได้มาซึ่งคุณภาพ • 1. การประเมินอาการผู้ป่วยเบื้องต้น จัดทำ guidelines การซักประวัติอาการ และside effect ของยา และจัดทำประวัติของผู้ป่วยแต่ละคนเพื่อสังเกต ติดตามประเมิน ตั้งแต่แรกเริ่มรักษา • 2. มีการรักษาโดยแพทย์เฉพาะทาง และทบทวนการรักษาโดยอาจารย์แพทย์ ประสานแพทย์สหสาขาในการดูแลผู้ป่วยร่วมกัน เช่น แพทย์จิตเวช, radiologist, anasthesist เป็นต้น • 3.การติดตามประเมินผลการดูแลรักษาโดยทำในรูปแบบงานวิเคราะห์และงานวิจัย

  17. 4. IST (The I5-Second Version of Isaacs” Set Test of Verbal • Fluency) count 10 subjects in 15 seconds ) • - สี ………………………………………………………….. • - สัตว์…………………………………………………………. • - ผลไม้ ………………………………………………………… • - เมือง ……………………………………………………….. • 5.The 4-LineVersion of Zazzo’sCancellation Test-ZCT Zazzo 1974 • เวลาที่ใช้ -- -------- วินาที • สรุปได้ทั้งหมด ------------- รูป • Zazzo pictures ……………………… • Zazzo time………………………….... • ระดับการศึกษา 0-5 ปี 6-9 ปี >10 ปี • ZCT Score (เวลาเป็นวินาที) และระดับการศึกษา (PAQUID) • ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น >38 >34 >28 • ZCT Score (จำนวนรูปที่ถูกต้อง) และระดับการศึกษา (PAQUID) • ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น >12 >13 >13 • 6 The 5 item version of instrumentral activities of daily iving • Modified Lawton’s scale (5-IADL) • สามารถ ไม่สามารถ • 0 1 2 3 4 • - ใช้โทรศัพท์  • เขียนและส่งจดหมาย  • การเดินทาง  • รับประทานยา  • จับจ่ายใช้สอย  • มีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางสังคม  • งานอดิเรก  แบบประเมิน Dementia (ต่อ) Battery tests for dementia

  18. คลินิก Dimentia วันที่ ----------------- น.น. ------- BP ------ 1.คะแนน MMSE /TMSE -------------------- 2. ยาที่ใช้ในปัจจุบัน 2.1 ความดันโลหิตสูงมี ไม่มี ยาที่ใช้ - ยาขับปัสสาวะ  ------- - B-blocker ------- - calcium channel blocker  ------- - ACEI ------- - B- blocker ------- -ARB ------- - others -------- 2.2 เบาหวาน -------- - อาหาร -------- - oral anti-diabetic drug -------- - Insulin -------- 2.3 ไขมันในเลือดสูง มี ไม่มี ยาที่ใช้ - Statin -------- - Fibrate -------- - others -------- 2.4 โรคหัวใจหลอดเลือด -------- - antiplatelets -------- - Anti-coagulant -------- - others -------- 2.5 โรคจิต -------- - Benzodiazepine -------- - Antidepressant -------- - Anti psychotic --------- - AED -------- - others -------- 3 : Memory drugs - ACE Inhibitor -------- - Ebixa -------- - others -------- Dementia clinic แบบประเมิน Dementia Questionaires for drug used

  19. Time line for long history of Myasthenia gravis MG

  20. MG From 2542 till 2549

  21. nurse report for ความก้าวหน้า MG

  22. Nurse report for MG progression before seeing doctor

  23. 5.Empower ผู้ป่วยและญาติให้ส่วนร่วมในการดูแลรักษาพยาบาล เช่น การสังเกตอาการของตนเองโดยทำแบบประเมินอาการเปลี่ยนแปลง ให้ข้อมูลการแพ้ยาหรือside effect ของยาที่ได้รับ • 6. จัดGroup therapyเพื่อให้ผู้ป่วย ญาติผู้ดู แพทย์และทีมงาน ได้เล่าถึงประสบการณ์การเจ็บป่วย การดูแลรักษาพยาบาล เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน • 7.จัดทำโครงการฝึกสมาธิภาวนาให้แก่ผู้ป่วยและญาติ Innovation

  24. แบบรายงานอาการของผู้ป่วย parkinson Designed for patients , done by patients at home for patients advantage

  25. Group discussion

  26. Group Exercise

  27. 8. มีการฝึกอบรมแพทย์และเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่องจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศ ประมาณ 2-3 เดือนละ / ครั้ง 9. จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้เข้าถึงบริการได้ง่ายและรู้สึกผ่อนคลายในการรอพบแพทย์

  28. Group education from internal /external sources

  29. Nice / Homy atmosphere

  30. ผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพ 1.ตัวอย่างผลการรักษาพยาบาลผู้ป่วย MG ( 20 กย.49) จากแฟ้มผู้ป่วย 15 คน อาการอ่อนแรง • ผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนแรง 2 คน(อ่อนแรงเป็น 0) 13.33 % • ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงระดับ 1 5 คน33.33 % • ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงระดับ23 คน20 % • ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงระดับ 3 5 คน 33.33 %

  31. หมายเหตุ • ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการอ่อนแรง เกิดจากออกกำลังกายสม่ำเสมอและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ผู้รักษา • อ่อนแรงระดับ 1เพราะมีตามองเห็นภาพซ้อน เสียงแหบ นอนไม่หลับ (สูงอายุ) • อ่อนแรงระดับ 2 เพราะมีหนังตาตกบางครั้งและปวดแขนขาเป็นบางครั้ง • อ่อนแรงระดับ 3เพราะ อ่อนเพลียจากมีครรภ์ , เป็นหวัด, เป็นต้อกระจก ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ

  32. ความสามารถในการควบคุมตนเองได้ความสามารถในการควบคุมตนเองได้ • ระดับ 8-10คิดเป็น 84.6 % • ระดับ 7คิดเป็น 7.7 % • ระดับ 6คิดเป็น 7.7 % หมายเหตุ 1. ถึงแม้ผู้ป่วยจะมีอาการหนังตาตกและปวดแขนขาเป็นบางครั้ง แต่ก็คิดว่าตนเองมีความสามารถในการควบคุมตนเองได้ในระดับ 10 มีความรู้ในระดับ 5-10 บางคนอยู่ในช่วง remission หยุดยา แต่ก็มา FU อย่างสม่ำเสมอ ความสามารถในการควบคุมตนเองระดับต่ำกว่า 8 จากการตั้งครรภ์ เป็นหวัด เป็นต้อกระจก ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ

  33. ความคิดเห็นของผู้รับบริการความคิดเห็นของผู้รับบริการ 2.1 ความเชื่อมั่นของผู้รับบริการต่อระบบของ OPDศูนย์โรคสมองระดับ 9-10 = 93.75%ระดับ 8 = 6.25% (จาก 0-10)

  34. 2.2 อะไรคือการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • มีการให้คำแนะนำกับผู้ป่วยเกี่ยวกันโรคที่เป็น group therapy • การบริการที่ดีและรวดเร็วขึ้น มีโครงสร้างของอาคารใหม่และปรับปรุง อาคารต่างๆ ดีขึ้น • การบริการของแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่และพฤติกรรมการบริการดีกว่า ที่อื่น • มีการเปิดคลินิกโรค headache ,dementia , multiple sclerosis , Myasthenia gravis, Parkinson’s • มีผู้มาใช้บริการมากขึ้น • ไม่ต้องรอนานในการเข้าพบแพทย์ ได้รับยาจากห้องยาโดยรวดเร็ว

  35. 2.3 ท่านมีปัญหาเกี่ยวกับการเข้ารับบริการในเรื่องต่อไปนี้หรือไม่: 2.3.1การมาพบแพทย์ - รอพบแพทย์นานเพราะต้องออกบ้านมาตั้งแต่ตี 4 กว่า - ไม่มีปัญหา เคยรักษาที่อื่นแล้วแพทย์ไม่สามารถวินิจฉัยได้ เคยได้ยามาจากที่อื่น แต่อาการทรุดลง มารอดชีวิตเมื่อมารักษาที่นี่ - มีปัญหา บ้านอยู่ไกล เสียค่าใช้จ่ายมาก

  36. 2.3.2 ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น • รู้ว่าความจำของพ่อไม่ค่อยดี บางครั้งจำได้เรื่องเก่าๆ จะจำเรื่องใหม่ๆ เป็นบางครั้ง • มีความรู้เยอะพอสมควรจากแพทย์ทำตามแพทย์สั่ง • ได้เข้าไปฟัง พญ.ศิวาพร ให้ความรู้เรื่องโรค MG ทำให้เข้าใจชัดเจนขึ้น • แพทย์ที่ตรวจให้ความรู้เรื่องโรคอย่างมาก แพทย์สามารถตอบได้ทันที เช่น พ.ศศิวิมล และ พ.เฮเลน (2 คน) • มีพอสมควร จากเอกสารของโรงพยาบาล จากคำอธิบายของแพทย์และพยาบาล

  37. 3. อัตราบันทึกการวินิจฉัยโรค (ICD 10 ) ใน ระบบOn-line มากกว่า >80 %

  38. กัลยาณมิตร หมายถึง ผู้ที่หวังดีให้ความช่วยเหลือ ว่ากล่าวตักเตือน แนะนำ ไม่ปล่อยให้คิดผิด พูดผิด ทำผิด ทั้งๆ ที่รู้ ไม่ปล่อยให้มีภัยมีความเสื่อมเสียเกิดขึ้น แม้ป้องกันได้ แม้จะเป็นผู้ที่ไม่รู้จักมักคุ้นเคย แม้ที่อยู่ห่างไกล ไม่เคยพบเห็น แต่เมื่อมีใจมุ่งดีปรารถนาดีจริงใจต่อผู้ใด คิดพูดทำทุกอย่าง เพื่อป้องกันช่วยเหลือผู้นั้น เต็มสติปัญญาความสามารถ ให้พ้นความเสื่อมเสียทุกประการ ไม่ว่ามากน้อยหนักเบา ก็นับได้ว่าป็นกัลยาณมิตร

  39. Thank you for your attention

More Related