1 / 10

การบริหารจัดการความรู้ ( Knowledge Management) : การเตรียมองค์กรสำหรับการบริหารจัดการความรู้

การบริหารจัดการความรู้ ( Knowledge Management) : การเตรียมองค์กรสำหรับการบริหารจัดการความรู้. การเตรียมองค์กรสำหรับการบริหารจัดการ ความรู้ ในการเริ่มต้นเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำการบริหารจัดการความรู้ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร ควรเตรียมการดังนี้

art
Download Presentation

การบริหารจัดการความรู้ ( Knowledge Management) : การเตรียมองค์กรสำหรับการบริหารจัดการความรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) : การเตรียมองค์กรสำหรับการบริหารจัดการความรู้ • การเตรียมองค์กรสำหรับการบริหารจัดการความรู้ • ในการเริ่มต้นเพื่อเตรียมความพร้อมในการนำการบริหารจัดการความรู้ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร ควรเตรียมการดังนี้ • 1. รวบรวมวิธีการจัดความรู้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร • 2. ทุกคนในองค์กรต้องทำความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร รวมทั้งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง • 3. ตระหนักถึงหน้าที่ การดำเนินงาน การปฏิบัติการและสามารถเปรียบเทียบกับหน่วยงานอื่น • 4. แบ่งปันช่วยเหลือการทำงานและลดช่องว่างในการทำงาน • 5. จัดระบบเชิงสัมพันธ์ (Metric) เชื่อมโยงทั้งองค์กร • 6. สนับสนุนวัฒนธรรมช่วยเหลือและประสานงาน • 7. มุ่งองค์กรแห่งการเรียนรู้ • 8. วางแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกัน • 9. เริ่มในสิ่งที่รู้เหมือนกันทั้งองค์กร

  2. การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) : ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการความรู้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการความรู้ การบริหารจัดการความรู้จะประสบผลสำเร็จได้ดีเพียงใดนั้นมีปัจจัยต่าง ๆ ที่ช่วยสนับสนุนดังนี้ 1. วัฒนธรรมองค์กร 2. ผู้นำ 3. CKOs มีหน้าที่ดังนี้ 1) จัดและพัฒนาทักษะให้กับบุคลากรไม่เฉพาะภายในองค์กรเท่านั้น 2) บังคับบัญชาภายในองค์กรให้ไปสู่เป้าหมาย 3) บังคับบัญชาด้านความคิดของบุคลากร 4) ช่วยให้กิจกรรมดำเนินงานไปด้วยดีโดยไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองภายในองค์กร

  3. 5) ทำให้ลูกค้ายอมรับในผลผลิตและการบริหาร 6) บริหารความเสี่ยง 7) สนับสนุนนโยบายของผู้บริหารระดับสูง 8) แนะนำการใช้เทคโนโลยี 9) เปลี่ยนแปลง ท้าทายในการทำงาน 10) กล้าเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงภายใน 11) ทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย 12) สนับสนุนผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้อ 4. เทคโนโลยี 5. การค้นหาวิธีที่เหมาะสมเปรียบกับสำนวนที่กล่าวว่าไม่มีกระสุนเงินที่ใช้กับทุกเรื่องได้ (There is no silver bullet) 6. การทำงานเน้นความรู้เป็นหลักในกระบวนการ 7. ใช้ตัวอย่างและการสาธิต 8. มุ่งอนาคตไม่ใช่อดีต 9. การสนับสนุนจากผู้นำองค์กร 10.การยอมรับนับถือและเชื่อมั่นไว้วางใจ

  4. การบริหารจัดการความรู้ เป็นเหมือนยุทธศาสตร์ที่ช่วยให้ความรู้ที่มีประสิทธิผลเหมาะกับบุคลากรที่เหมาะสม (Getting The Right Knowledge To The People At The Right Time) ช่วยแบ่งปันความรู้ร่วมกันในการปฏิบัติงานเพื่อปรับปรุงองค์กร จากการศึกษาการบริหารจัดการความรู้ พบว่ามีความหมาย 2 ประการ ได้แก่ ความรู้ภายในแบบหยั่งลึก (Tacit) เกี่ยวกับคุณค่าวัฒนธรรมและความรู้จากภายนอก (Explicit) เกี่ยวข้องกับหลักแห่งปัญญาดังตาราง

  5. จากผลสรุปทั้งสองด้านดังตาราง คุณค่าแห่งวัฒนธรรม หลักแห่งปัญญา ความรู้ภายนอกสัมผัสได้ ชัดเจน ปริมาณ ทางการ ผู้ถูกกระทำ ความคงอยู่ของความรู้ ใช้ประสบการณ์ ระบบ ผู้ตอบสนอง • ความรู้หยั่งลึกภายใน • ภายในเงียบสงบ • โดยย่อ • ไม่เป็นทางการ • ผู้กระทำ • ความรู้ใหม่ • ภาพรวม • ค่านิยมความเชื่อ • ผู้กระทำ

  6. การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) : กระบวนการจัดการบริหารจัดการความรู้ กระบวนการจัดการบริหารจัดการความรู้ กระบวนการจัดการบริหารจัดการความรู้ มีขั้นตอนดังนี้ 1. สร้างความเข้าใจของการจัดการความรู้ 2. รวบรวมประสบการณ์และจูงใจบุคลากรให้เกิดความเข้าใจในกระบวนการบริหารจัดการความรู้ โดยเน้นการวางแผนยุทธศาสตร์ 3. ดำเนินงานบริหารจัดการความรู้ด้วยการเชื่อมโยงประสานงาน 4. บริการความรู้ 5. ศึกษาธรรมชาติและองค์ประกอบของความรู้ 6. ศึกษาประวัติศาสตร์ของการเปลี่ยนแปลงและการแสดงออก 7. จัดโมเดลพรรณนาความเกี่ยวข้อง 8. ศึกษากระบวนการโครงสร้างของความรู้ 9. ศึกษาความสัมพันธ์กับสิ่งที่เกี่ยวข้อง 10.จัดเรียบเรียงความสำคัญ

  7. การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) : ข้อคำนึงในการบริหารจัดการความรู้ ข้อคำนึงในการบริหารจัดการความรู้ การบริหารจัดการความรู้เป็นกิจกรรมหรือทิศทางของการดำเนินการในการบริหารจัดการ อำนวยการ หรือการแบ่งปันความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร มีข้อคำนึงในการบริหารจัดการความรู้ ดังนี้ 1. การบริหารจัดการความรู้ด้านองค์กรและสิ่งอำนวยความสะดวก ในองค์กรเตรียมความพร้อมด้านคอมพิวเตอร์และวิธีใช้ รวมทั้งสถานที่ คำนึงถึงการออกแบบและความสะดวกสบาย มีห้องทำงาน ห้องประชุม ห้องอาหารที่เพียงพอ 2. วิธีสนับสนุนด้านการมีส่วนร่วม ความสัมพันธ์ในการทำงาน ทรัพยากรเพียงพอหรือไม่ต้องหาทางสนับสนุน 3. การทำงานมีขั้นตอนยุ่งยากหรือไม่ ทำงานตอบสนองขั้นตอนการทำงานเพียงใด 4. มีการสร้างสรรค์งานหรือไม่ หรือทำงานตามนโยบายรวมทั้งแบ่งปันความรู้เพียงใด 5. มีการเลือกกระบวนการที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการความรู้ ว่าจะช่วยสร้างสรรค์ค้นหา จัดการ แบ่งปันความรู้ตามความจำเป็นเพื่อบรรลุ

  8. 6. ตรวจสอบความรู้และระบุความจำเป็นของความรู้ทรัพยากรของความรู้และทำให้ความรู้ไหลเลื่อน 7. สร้างยุทธศาสตร์ความรู้เป็นแนวทางในการทำงานทั้งหมด 8. เชื่อมโยงประชาชนกับประชาชน แบ่งปันความรู้ภายในให้วิธีการสื่อสารให้เกิดการปรับปรุงการเรียนรู้ 9. เชื่อมโยงประชาชนกับสารสนเทศแบ่งปันความรู้ที่เห็นได้ ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลที่ดีที่สุด และใช้กระบวนการจัดความรู้เน้นเนื้อหาและแน่ใจว่าความรู้เป็นกระแสใหม่ เกี่ยวข้องและง่ายต่อการนำมาใช้ 10. สร้างโอกาสของประชาชนให้ความรู้ใหม่ผ่านการมีส่วนร่วมในการทำงานและการเรียนรู้ 11. แนะนำประชาชนให้เข้าใจอย่างฝังลึก ใช้ความรู้จัดเป็นคู่ขนานช่วยเหลือ 12. สอนประชาชนให้แบ่งปันความรู้โดยใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง 13. จูงใจให้ประชาชนรู้ว่าการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตในการทำงาน

  9. การบริหารจัดการความรู้ ( Knowledge Management) เป็นการบริหารจัดการที่มีความคาดหวังในการเปลี่ยนแปลงองค์กรและเป็นยุทธศาสตร์เช่นเดียวกับ TQM (Total Quality Management) การยกเครื่อง (Re-Enginering) ซึ่งเป็นพื้นฐานทางความคิดที่เกี่ยวข้องของทฤษฎีด้านกระบวนการ ผู้นำจึงพัฒนาการบริหารจัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง และเรียนรู้วิธีการใหม่ดังคำกล่าวของ Rick Warren ที่ว่า “หยุดเรียนรู้ หยุดการนำ”

  10. เรียนรู้ค่านิยมของข้าราชการยุคใหม่  I AM READY I (Intergrity) = การทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี A (Actiumens) = ขยัน ตั้งใจทำงาน M (Moral) = มีศีลธรรม R (Relevancy) = มีการเรียนรู้และปรับตัวให้ทันกับปัญหา E (Efficiency) = การทำงานที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพ A (Accountability) = การมีความรับผิดชอบต่อผลงาน D (Democracy) = มีใจและการกระทำที่เป็นประชาธิปไตย Y (Yield) = มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และปฏิบัติงานโดย เน้นผลสัมฤทธิ์ ****************

More Related