1 / 31

ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี 2015

ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี 2015. 1. 1. ความเป็นมา. 2. ASEAN Political and Security Community (APSC). ASEAN Economic Community (AEC). ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC). 3. โครงสร้างใหม่ ของอาเซียน ภายใต้ ASEAN Charter. ASEAN Secretariat. AC.

ariel-doyle
Download Presentation

ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี 2015

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ผลกระทบต่อแรงงานในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี 2015 1

  2. 1. ความเป็นมา 2

  3. ASEAN Political and SecurityCommunity (APSC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) 3

  4. โครงสร้างใหม่ของอาเซียน ภายใต้ ASEAN Charter ASEAN Secretariat AC มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) เสาเศรษฐกิจ เสาสังคม-วัฒนธรรม เสาการเมือง ASEAN Coordinating Council รมต.ต่างประเทศอาเซียน ASEAN Political-Security Community : ASC Council ASEAN Economic Community : AEC Council ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC Council • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต. ต่างประเทศ • รมต. กลาโหม • รมต. ยุติธรรม • ASEAN Regional Forum • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต.เศรษฐกิจ AEM • รมต. คลังอาเซียน • รมต. เกษตร / พลังงาน / ขนส่ง / ICTท่องเที่ยว / วิทยาศาสตร์ ฯลฯ • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต. วัฒนธรรม • รมต. ศึกษา • รมต. สิ่งแวดล้อม • รมต. แรงาน • รมต. สาธารณสุข ฯลฯ Senior Officials Senior Officials Senior Officials Senior Officials Committee of Permanent Representatives in Jakarta ระดับเอกอัครราชทูตจากประเทศสมาชิกอาเซียน ประจำที่จาร์กาตา 4

  5. เป้าหมายของ AEC เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน 5

  6. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อมSMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน 6

  7. ความร่วมมือด้านแรงงานในพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจ (AEC Blueprint) ปรากฏใน 2 หมวดดังต่อไปนี้ A 2 การเคลื่อนย้ายธุรกิจบริการเสรี (Free flow of services) A 5 การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี (Free flow of skilled labour) ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องอนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการการบริการของอาเซียนเข้ามาทำธุรกิจ และในปี พ.ศ.๒๕๕๘ สมาชิกอาเซียนสามารถมีสัดส่วนการถือหุ้นได้ถึงร้อยละ ๗๐ อยู่ภายใต้การเจรจาเรื่องการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา (Movement of Natural Persons) และเป็นเรื่องของบุคลากรวิชาชีพที่ต้องมีการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangement:-MRA) ซึ่งเป็นการยอมรับคุณสมบัติในการมีใบอนุญาตทำงานในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 7

  8. 2. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 8

  9. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ยอมรับร่วมกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ • ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา สาขาวิศวกรรม สาขาพยาบาล สาขานักสำรวจ สาขาแพทย์ สาขานักบัญชี สาขาทันตแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม 9

  10. MRA MRA (Mutual Recognition Arrangement) คือ • ข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพ ซึ่งเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับการแสวงหาจุดยอมรับร่วมกันเรื่องคุณสมบัติของผู้ทำงานด้านบริการ โดยเฉพาะในกลุ่มที่เป็นนักวิชาชีพ เช่น แพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี เป็นต้น • คุณสมบัติที่ประเทศสมาชิกมานั่งเจรจาเพื่อหาจุดตกลงยอมรับร่วมกัน เช่น เรื่องการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นเงื่อนไขในการได้รับอนุญาตให้ทำงานในประเทศหนึ่งๆ • วัตถุประสงค์ของข้อตกลงชนิดนี้ คือ การช่วยให้นักวิชาชีพอาเซียนสามารถเคลื่อนย้ายเข้าไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่นได้สะดวกมากขึ้น 10

  11. การทำงาน MRA  ตัวอย่างการทำงานของ MRA ด้านวิศวกร เช่น นาย ก เป็นวิศวกรไทย จบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมศาสตร์ ทำงานมาแล้ว 7 ปี และได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในประเทศไทยแล้ว ตาม MRA อาเซียนเกี่ยวกับอาชีพวิศวกร นาย ก สามารถที่จะไปขอขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรวิชาชีพอาเซียนได้ เพื่อจะได้ไปสมัครกับสภาวิศวกรของประเทศอาเซียนอื่น (เช่น อาจเป็น สิงคโปร์) เพื่อเข้าทำงานเป็นวิศวกรต่างด้าว แต่ นาย ก ก็ยังจำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้น (เช่น หากสิงคโปร์กำหนดว่าต้องมีใบอนุญาตวิชาชีพวิศวกร นาย ก ก็ต้องสอบใบอนุญาตให้ได้ก่อน) 11

  12. MRA มีประโยชน์ตรงไหน • ผู้ประกอบวิชาชีพชาวไทยมีคุณสมบัติตรงตาม MRA - จะช่วยอำนวยความสะดวกให้ท่านสามารถมีโอกาสไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่นๆ ที่ได้ผลตอบแทนมากกว่าได้ง่ายขึ้น เพราะ MRA นั้นได้ช่วยลดขั้นตอนการตรวจสอบและรับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพนั้นๆ ให้แล้ว (ในทางกลับกันหากนักวิชาชีพชาวไทย กลัวการถูกแย่งงานจากนักวิชาชีพอาเซียนอื่นๆ ก็จำเป็นที่จะต้องกระตุ้นเพิ่มพูนศักยภาพตนเอง ซึ่งประโยชน์จะตกอยู่กับผู้บริโภค) • คนธรรมดาทั่วไป - โอกาสที่เพิ่มมากขึ้นในการได้รับบริการจากนักวิชาชีพที่มีความสามารถจากชาติอาเซียนอื่นๆ ที่อาจจะเข้ามาทำงานในไทยเพิ่มมากขึ้น โดยไม่ต้องเสียค่าเดินทางไกลๆ เพื่อขอรับบริการนั่นเอง  12

  13. ความคืบหน้า MRA ปัจจุบันนี้ผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรอง MRA สำหรับวิชาชีพต่าง ๆ ไปแล้ว 7 สาขาอาชีพด้วยกัน ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร บัญชี และช่างสำรวจ สาขาอาชีพที่ 8 คือ วิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน ซึ่งสมาชิกอาเซียน 9 ประเทศ ได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกัน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professionals) ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมื่อเดือนมกราคม 2552 (ยกเว้นประเทศไทย อยู่ระหว่างการนำเสนอ ครม. และรัฐสภา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ) 13

  14. จำนวนผู้ประกอบอาชีพสาขาต่างๆ ของไทย ที่มา: สภาวิชาชีพ 14

  15. 3. ผลกระทบต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 15

  16. ผลดีของการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีต่อแรงงานไทยผลดีของการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีต่อแรงงานไทย ตลาดแรงงานไทยใหญ่ขึ้น มีโอกาสมากขึ้น แรงงานฝีมือเข้าสู่ตลาดแรงงานในประเทศ FTA โดยเฉพาะในอาเซียนได้อย่างเสรี เกิดการเกื้อกูลกันด้านบุคลากรวิชาชีพ ช่วยพัฒนาภูมิภาคอาเซียนและคู่เจรจา FTA อำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา และเกิดการจ้างงานถาวรภายในประเทศสมาชิกอาเซียน ส่งเสริมความร่วมมือด้านแรงงานระหว่างประเทศสมาชิก เน้นการพัฒนาทักษะและฝีมือแรงงานอาเซียนให้แข่งขันได้ เป็นที่ยอมรับ 17

  17. ปัญหากดดันต่อแรงงานไทยปัญหากดดันต่อแรงงานไทย ปัญหาสมองไหล (Brain Drain)  ขาดแคลนแรงงาน แรงงานไทยที่มีระดับทักษะฝีมือต่ำที่ไม่เป็นที่น่าสนใจในตลาดต่างประเทศ ความอ่อนด้อยทางด้านภาษาต่างประเทศ หลักสูตรการศึกษาหรือใบรับรองมาตรฐานวิชาชีพของไทยไม่ได้รับการยอมรับ (accredited) ในระดับสากล ขาดมาตรการการคุ้มครองแรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศร่วมกับสมาชิกอาเซียน 18

  18. 19

  19. 20

  20. ความสามารถด้านภาษาอังกฤษความสามารถด้านภาษาอังกฤษ 21

  21. จำนวนแรงงานจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 8,059 คน ที่มา: สำนักบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน 22

  22. จำนวนแรงงานจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย 7 สาขาอาชีพ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 390 ตำแหน่งจำแนกรายประเทศ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน 23

  23. จำนวนแรงงานจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย 7 สาขาอาชีพ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 390 ตำแหน่ง จำแนกรายอาชีพ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน 24

  24. 4. ต้องมีการเตรียมตัวอย่างไร 25

  25. การเตรียมความพร้อมในการรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีการเตรียมความพร้อมในการรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของแรงงาน • พัฒนาความรู้และทักษะด้านภาษา • ปรับปรุงสวัสดิการและอัตราค่าตอบแทน เพื่อดึงดูดแรงงานฝีมือไม่ให้ไปทำงานต่างประเทศ 26

  26. แผนการดำเนินการของกระทรวงแรงงานแผนการดำเนินการของกระทรวงแรงงาน • แผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 • แผนรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีตามกรอบ ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC) ในปี ค.ศ. 2015 • แผนดำเนินการแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบของกระทรวงแรงงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี ๗ สาขาวิชาชีพ พ.ศ. 2554 - 2558 • เช่น - พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๕๑ - ร่าง พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... - พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ - พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๓ 27

  27. แผนการดำเนินการของกระทรวงแรงงาน (ต่อ) 3. เตรียมความพร้อมด้านศักยภาพแรงงาน โดยพัฒนาทักษะด้านภาษา โลจิสติกส์ การบริหารจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับแรงงานและบุคลากรกระทรวงแรงงาน 4. ประชาสัมพันธ์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้แก่แรงงานไทยและบุคลากรกระทรวงแรงงานเพื่อให้มีความตระหนักรู้ 28

  28. ตัวอย่างกิจกรรมการดำเนินงาน (AEC) • ทำการศึกษา/วิเคราะห์/วิจัย (R&D) • จัดทำแผนปฏิบัติการด้านแรงงานรองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 • อำนวยความสะดวกในการตรวจลงตราและใบอนุญาตทำงานสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพและแรงงานฝีมืออาเซียน • พัฒนามาตรฐานวิชาชีพร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียน • เข้าร่วมการแข่งขันฝีมือแรงงานอาเซียน • เตรียมความพร้อมด้านศักยภาพแรงงานในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ด้านภาษา โลจิสติกส์ การบริหารจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ) • ประชาสัมพันธ์เรื่องการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงาน 29

  29. ขอบคุณ 31

More Related