1 / 41

ISO/ TC 46 มาตรฐานด้านการเอกสารและสารสนเทศ

ISO/ TC 46 มาตรฐานด้านการเอกสารและสารสนเทศ. สุวรรณา ธนพัฒน์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม suwanna@tisi.go.th. หัวข้อ. ISO คืออะไร ? ISO กำหนดมาตรฐานอย่างไร ? ISO/TC 46 คืออะไร ? ประเทศไทยมีบทบาทอย่างไรใน ISO ?. ISO คืออะไร ?.

argus
Download Presentation

ISO/ TC 46 มาตรฐานด้านการเอกสารและสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ISO/TC 46มาตรฐานด้านการเอกสารและสารสนเทศ สุวรรณา ธนพัฒน์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม suwanna@tisi.go.th

  2. หัวข้อ • ISO คืออะไร ? • ISO กำหนดมาตรฐานอย่างไร ? • ISO/TC 46 คืออะไร ? • ประเทศไทยมีบทบาทอย่างไรใน ISO?

  3. ISO คืออะไร ?

  4. องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน(International Organization for Standardization-ISO) วัตถุประสงค์: ให้การสนับสนุนด้านการมาตรฐานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อ • ส่งเสริมการค้าและบริการระหว่างประเทศ • สนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศ ทางด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และด้านเศรษฐกิจ ขอบข่าย: ครอบคลุมมาตรฐานทุกสาขา วิชายกเว้นด้านไฟฟ้า

  5. ที่มาของชื่อย่อ ISO IOS = International Organization for Standardization OIN = Organisation international de normalisation ISO = International Organization for Standardization ISOS = Equal (ภาษากรีก)

  6. สมัชชาทั่วไป คกก.ที่ปรึกษากำหนดนโยบาย -คกก.ประเมินผลเพื่อการรับรอง -คกกนโยบายผู้บริโภค -คกก.ด้านประเทศกำลังพัฒนา คณะกรรมธิการวิสามัญคณะมนตรี คณะมนตรี คกก.บริหารด้านวิชาการ กลุ่มคณะที่ปรึกษาเฉพาะกิจ คกก.หลักเกณฑ์การมฐ.ทั่วไป สำนักเลขาธิการ คณะที่ปรึกษา(วิชาการ) คกก.วิชาการ

  7. สมาชิกของ ISO ปัจจุบันมีสมาชิก 137 ประเทศ • Member body : 90 ประเทศ (มีสิทธิออกเสียงในเรื่องวิชาการ มีสิทธิเข้ารับการเลือกตั้งเป็นสมาชิก Council และเข้าร่วมประชุม General Assembly • Correspondent member : 36 ประเทศ (มีสิทธิรับทราบข่าวคราวความเคลื่อนไหวของ ISO แต่ไม่มีสิทธิเข้าร่วมงานวิชาการ) • Subscriber member : 11 ประเทศ

  8. ISO กำหนดมาตรฐานอย่างไร ?

  9. การกำหนดมาตรฐานของ ISO • Technical Committee -TC - 187 คณะ • Sub-Committee - SC - 552 คณะ • Working Group - WG - 2100 คณะ • Ad hoc Study Group - 19 คณะ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมีความสนใจสมัครเข้าร่วมใน ISO/TC/SC

  10. ISO/TC/SC • สมาชิกร่วมทำงาน (Participating Member : P-Member) • มีข้อผูกพันต้องเข้าร่วมประชุม และออกเสียงในทุกขั้นตอนของการกำหนดมาตรฐาน • สมาชิกสังเกตการณ์ (Observer Member : O-Member) • มีสิทธิได้รับเอกสารวิชาการ

  11. ขั้นตอนการกำหนดมาตรฐานของ ISO • Stage 1:Preliminary stage • Stage 2: Proposal stage • Stage 3: Preparatory stage • Stage 4: Committee stage • Stage 5: Enquiry stage • Stage 5: Approval stage • Stage7: Publication stage

  12. Stage 1: Preliminary stage • เป็นขั้นตอนที่ TC/SCเสนอเรื่องเพื่อจัดทำเป็นมาตรฐานบรรจุไว้ในแผนการกำหนดมาตรฐานซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบในการจัดทำจาก P-Member

  13. Stage 2: Proposal stage • เป็นขั้นตอนเสนอ New work item proposal (NP) เพื่อขอความเห็นชอบจาก TC/SC ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบจาก P-Member เป็นส่วนใหญ่ (ไม่น้อยกว่า 5 ประเทศ) • ส่งไปลงทะเบียนโดย Chief Executive Officers (CEO)

  14. Stage 3: Preparatory stage • เป็นขั้นตอนการจัดเตรียม Working Draft (WD)โดย Working Group (WG) เพื่อเวียนให้สมาชิก TC/SC พิจารณา และให้ความเห็นชอบ • จัดทำเป็น Committee Draft (CD)

  15. Stage 4: Committee stage • เอกสาร Committee Draft (CD) จะส่งไปยัง CEO เพื่อลงทะเบียน เวียนไปยัง P-Member เพื่อขอข้อคิดเห็น (3 เดือน) • หากได้รับความเห็นชอบ 75% จะจัดทำเป็น DIS ต่อไป (ภายใน 4 สัปดาห์หลัง Vote ต้องรายงานผลการ Vote ให้สมาชิกทราบเพื่อพิจารณาร่วมกัน

  16. Stage 5: Enquiry stage • DIS จะส่งเวียนไปยัง P-Member เพื่อขอข้อคิดเห็น (5 เดือน) • หากได้รับความเห็นชอบ 75% จะจัดทำเป็น FDIS ต่อไป หากไม่ผ่านต้องนำกลับไปแก้ไขและเวียนขอความเห็นชอบใหม่ อีกครั้ง • ภายใน 4 สัปดาห์ ต้องทำรายงานผลการ Vote ให้สมาชิกทราบ

  17. Stage 6: Approval stage • FDIS จะส่งเวียนไปยัง P-Member เพื่อขอข้อคิดเห็น (2 เดือน) • หากได้รับความเห็นชอบจากสมาชิก 2 ใน 3 และเสียงคัดค้านต้องไม่เกิน 1/4 จึงจะจัดพิมพ์เป็น International Standard ต่อไป หากไม่ผ่านต้องนำกลับไปแก้ไขปรับปรุงใหม่ • ภายใน 2 สัปดาห์ต้องทำรายงานผลการ Vote ให้สมาชิกทราบ

  18. Stage 7: Publication stage FDIS ที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว จะส่งไปยัง ISO /CS เพื่อจัดพิมพ์เป็น International Standard ต่อไป (ภายใน 2 เดือน)

  19. Fast-track procedure • มาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดยองค์กรระดับประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากสมาชิกให้มีการกำหนดเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศ เอกสารนี้จะเริ่มจากการจัดทำเป็น DIS Stage 5: Enquiry stage • มาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดยองค์กรระดับระหว่างประเทศ ซึ่งได้รับการยอมรับจาก ISO Council เอกสารนี้จะเริ่มจากการจัดทำเป็น FDIS Stage 6: Approval stage

  20. ขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานของ ISO PWI NP WD ISO CD DIS FDIS

  21. ISO/TC 46 คืออะไร ?

  22. คณะกรรมการวิชาการด้านการเอกสารและสารสนเทศ (ISO/TC 46 : Information and Documentation) • ปีที่ก่อตั้ง: ปี ค.ศ.1947 • ขอบข่ายงาน : กำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการดำเนินงานของห้องสมุด ศูนย์เอกสารและสารสนเทศต่าง ๆ ด้านการจัดทำสาระสังเขป/ดรรชนี ด้านจดหมายเหตุ ด้านสนเทศศาสตร์และการพิมพ์ • เลขานุการ: ประเทศฝรั่งเศส (AFNOR)

  23. ISO/TC 46 มีคณะอนุกรรมการ (SC) รวม 7 คณะ(เดิม) • TC 46 / SC 2 Conversion of written languages • TC 46 / SC 3 Terminology of information and documentation • TC 46 / SC 4 Computer applications in information and documentation • TC 46 / SC 8 Statistics and performance evaluation • TC 46 / SC 9 Presentation, identification and description of documents • TC 46 / SC 10 Physical keeping of documents • TC 46 / SC 11 Archives/records management

  24. ISO/TC 46 มีคณะอนุกรรมการ (SC) รวม 4 คณะ(ใหม่) • TC 46 / SC 4 Computer applications in information and documentation • TC 46 / SC 8 Quality -Statistics and performance evaluation • TC 46 / SC 9 Identification and description • TC 46 / SC 11 Archives/records management

  25. TC 46 Information and documentation • TC 46/WG 2: Coding of country names and related entities • TC 46/WG 3: Conversion of written languages • TC 46/WG 4: Terminology of information and documentation

  26. TC 46 / SC 4 Computer applications in information anddocumentation • เลขานุการ : สหรัฐอเมริกา (ANSI) (5WG) • WG 1 Character sets • WG 4 Format structures for bibliographic information interchange in machine readable form • WG 6 Electronic publishing • WG 7 Data elements • WG 8 Library codes +JTC1: Information technology

  27. TC 46 / SC 8 Quality - Statistics and performance evaluation • เลขานุการ: สวีเดน (SIS)(2WG) • WG 2: International library statistics • WG 4: Performance indicators for libraries

  28. TC 46 / SC 9 Identification and description • เลขานุการ: แคนาดา (SCC)(3WG) • WG 1 International standard audiovisual number (ISAN) • WG 2 International standard work code (ISWC) • WG 3 International standard Textual work code (ISTC)

  29. TC 46 / SC 11 Archives/records management • เลขานุการ : ออสเตรเลีย (SAI)

  30. Total number of published ISO standards related to the TC and its SCs: 76 and 20 in process • Participating countries: 30Observer countries: 38

  31. การประสานงานของ ISO/TC 46 กับ TC อื่น • JTC 1 Information technology • TC 6 Paper, board and pulps • TC 10 Technical product documentation • TC 37 Terminology (principles and coordination) • TC 154 Processes, data elements and documents in commerce, industry and administration • TC 171 Document imaging applications • TC 211 Geographic information/Geomatics

  32. การประสานงานของ ISO/TC 46 กับองค์กรต่าง ๆ Category A Liaisons (17) • CIDOC International Documentation Committee, International Council of Museums • CISAC Confederation of Societies of Authors and composers • DOI International Digital Object Identifier Foundation • EASE European Association of Science Editors • EC European Commission

  33. FID International Federation of Information and Documentation • IAEA International Atomic Energy Agency • ICA International Council on Archives • ICSTI International Council for Scientific and Technical Information • IFLA International Federation of Library Associations and Institutions • IFSE International Federation of Science Editors

  34. INFOTERM International Information Centre for Terminology • ISSN-IC ISSN International Centre • TERMNET International Network for Terminology • UN/ECE United Nations Economic Commission for Europe • UNCTAD United Nations Conference on Trade and Development • UNESCO United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization

  35. Category B Liaisons • IIR International Institute of Refrigeration • UN United Nations • UPU Universal Postal Union • WIPO World Intellectual Property Organization

  36. ประเทศไทยมีบทบาทอย่างไรใน ISO ?

  37. บทบาทของประเทศไทยใน ISO • ประเทศไทยโดย สมอ. ี่เป็นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติเข้าร่วมเป็นสมาชิก ISO ประเภท Member body เข้าร่วมดำเนินงานกับ ISO ทั้งด้านบริหารและวิชาการ

  38. ด้านวิชาการ เป็นสมาชิกประเภทร่วมทำงาน (P-member) • ใน TC/SC 64 คณะ เป็นสมาชิกประเภทสังเกตการณ์ (O-member) • ใน TC/SC149 คณะ

  39. การดำเนินงานด้านการมาตรฐานภายใต้ ISO/TC 46 ของไทย • 20 กรกฎาคม 2527 คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาเอกสารและร่างมาตรฐานของคณะกรรมการวิชาการไอเอสโอ คณะที่ 46 แต่งตั้งขึ้นตามคำสั่งคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการมาตรฐานระหว่างประเทศที่ 1/2527 • มีหน้าที่พิจารณาให้ข้อคิดเห็นในร่างมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่กำหนดโดยคณะกรรมการวิชาการไอเอสโอ คณะที่ 46 (ISO/TC 46)

  40. มาตรฐานไทยที่เสนอเป็นมาตรฐาน ISO • ISO 11940:1998 Information and documentation -- Transliteration of Thai • ISO/DIS 11940-2Transliteration of Thai Characters into Latin characters – Part 2 : Simplified transcription of Thai language

  41. คำประกาศแจ้งลิขสิทธิ์ของ ISO • เอกสารมาตรฐาน/ร่างมาตรฐานเป็นเอกสารภายใต้ลิขสิทธิ์ของ ISO การดำเนินการผลิต/ทำซ้ำ โดยการถ่ายสำเนา หรือผลิตเป็นสื่ออื่น ๆ จะกระทำมิไม่หากไม่ได้รับอนุญาตจาก ISO • การแจ้งขออนุญาตให้ติดต่อโดยตรงที่ ISO หรือติดต่อผ่านประเทศสมาชิกของ ISO • การผลิต/ทำซ้ำ จะต้องเสียค่าลิขสิทธิ์และต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขข้อตกลง ผู้ละเมิดจะต้องถูกฟ้องร้องดำเนินการตามกฎหมาย

More Related