1 / 52

กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา

กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา. รศ.พญ.เสาวรัตน์ เอื้อเพิ่มเกียรติ 30 ต.ค.52. ข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา. ขณะนี้ลาศึกษาต่อ 2 คน เหลือ 24 คน. ภาระงานสอน. 1. ระดับก่อนปริญญา. เป็นผู้ประสานงานหลักรายวิชา 364-351 , 364-101

Download Presentation

กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยากิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา รศ.พญ.เสาวรัตน์ เอื้อเพิ่มเกียรติ 30 ต.ค.52

  2. ข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยาข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา ขณะนี้ลาศึกษาต่อ 2 คน เหลือ 24 คน

  3. ภาระงานสอน 1. ระดับก่อนปริญญา • เป็นผู้ประสานงานหลักรายวิชา 364-351, 364-101 • ร่วมสอนใน Block ต่างๆ ชั้นคลินิก และปรีคลินิก ภาระงานสอน ปี 2551

  4. การเรียนการสอน 2. ระดับหลังปริญญา • หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยากายวิภาค • หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยาคลินิก

  5. สื่อการเรียนการสอนแบบ E-Learning • Anatomical Pathology : Case of the Month • Surgico-Radio-Pathological Case Conference • CAI • VDO streaming

  6. Introductionความรู้ทางด้านพยาธิวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานที่จำเป็นและสำคัญทางการแพทย์ เปรียบเสมือนลำต้นของต้นไม้ ในการเชื่อมโยงความรู้ทางด้าน basic science อันเปรียบเหมือนราก เข้ากับกิ่งก้านสาขา อันได้แก่ ความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ ในทางการแพทย์ อาทิ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ เป็นต้น วิชาพยาธิวิทยาช่วยเสริมสร้าง ความเข้าใจภาวะหรือโรคในผู้ป่วยที่พบเจอในชีวิตประจำวัน บุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าใจในพยาธิกำเนิด และพยาธิสภาพของโรคเป็นอย่างดีนั้น จะทำให้สามารถให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ มากกว่าการท่องจำ ซึ่งมีโอกาสที่จะลืมได้ง่ายภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาแพทย์เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านสื่อต่างๆ ทั้งตำรา วารสาร และข้อมูลบนอินเตอร์เนต โดยที่แหล่งความรู้ทางพยาธิวิทยาบนอินเตอร์เนตนั้น เกือบทั้งหมดเป็นของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศดังนั้น ภาควิชาพยาธิวิทยาจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกที่ต้องเรียนวิชาพยาธิวิทยา และนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิคที่ต้องการทบทวน ความรู้เดิมที่เคยเรียนมาแล้ว รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจท่านอื่นด้วย โดยจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเนื้อหาทุกเดือน

  7. การประชุมวิชาการร่วมระหว่างภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชารังสีวิทยา และภาควิชาพยาธิวิทยา หรือ Surgico- Radio-Pathological conference (SRP) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดให้มีขึ้น เป็นประจำทุกวันศุกร์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือน เวลา 8.15 น. ณ ห้องประชุมภาควิชาศัลยศาสตร์ ชั้น 1 ตึก อายุรกรรม- ศัลยกรรม เพื่อนำเสนอผู้ป่วยทางศัลยกรรมที่น่าสนใจ มีการอภิปรายร่วมระหว่างอาจารย์แต่ละภาควิชา เพื่ออธิบาย และสรุปโรคของผู้ป่วย เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องเวลา ภาระหน้าที่การรักษาพยาบาล และระบบ rotation ของนักศึกษาแพทย์ แพทย์ใช้ทุน และแพทย์ประจำบ้าน ทำให้ผู้สนใจบางส่วนไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในวันและเวลาดังกล่าวได้ ประกอบกับ การเรียนรู้สมัยใหม่นั้น การเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ได้อย่างสะดวก นับว่าเป็นสิ่งจำเป็น อย่างยิ่ง ดังนั้น ทางผู้ประสานงานของภาควิชาดังกล่าวได้มีความเห็นตรงกันว่า การประชุมวิชาการ SRP นี้น่าจะได้มีการ เผยแพร่ ให้กับบุคลากรผู้สนใจทั้งภายในและภายนอกคณะที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในเวลาดังกล่าว ได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกัน

  8. Editor: อ.สมรมาศ กันเงิน Co-editor: อ.ถาวรเด่นดำรงทรัพย์ Co-editor: อาจารย์ภาคฯศัลย์

  9. ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน 49 คน

  10. ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month จำนวน%

  11. ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน (จำนวน 69 คน)

  12. ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference จำนวน(%)

  13. CAI สรุปบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาควิชาพยาธิวิทยา

  14. บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์

  15. บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์

  16. สรุปผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาควิชาพยาธิวิทยาของนักศึกษาแพทย์ ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม 2550 – 1 ตุลาคม 2552 จำนวนครั้งที่เข้า

  17. http://lms.psu.ac.th

  18. http://lms.psu.ac.th

  19. แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning ต่อไป เป้าหมาย จัดทำสื่อการเรียนการสอนแบบ E-learning อย่างน้อยสาขาละ 1 เรื่อง/ปี สาขาพยาธิวิทยาคลินิก พยาธิวิทยากายวิภาค และนิติเวชศาสตร์และพิษวิทยา

  20. แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning รูปแบบ • เนื้อหา เป็นความรู้ตามรายวิชาที่สอนในชั้นปรีคลินิกและคลินิก • เน้นให้มีตัวอย่าง case , lab interpretation • คำถาม –พร้อมอธิบายเฉลยท้ายบทเรียน • มีการประเมินผลบทการเรียนรู้ • มีการประเมินสื่อโดยผู้ใช้

  21. แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning

  22. VDO streaming ของอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา

More Related