1 / 124

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

การคำนวณต้นทุนผลผลิต. ท่านทราบหรือไม่ว่า ?. ต้นทุนในการเก็บภาษี 1 ล้านบาท มีต้นทุนกี่บาท ของกรมสรรพากร ของกรมศุลกากร ของกรมสรรพาสามิต ต้นทุนในการก่อสร้างถนน 1 กิโลเมตรมีต้นทุนกี่บาท (กรมทางหลวง / กรมทางหลวงชนบท) การดำเนินการจดทะเบียนรถ ต่อครั้ง มีต้นทุนกี่บาท

Download Presentation

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณต้นทุนผลผลิต

  2. ท่านทราบหรือไม่ว่า? • ต้นทุนในการเก็บภาษี 1 ล้านบาท มีต้นทุนกี่บาท • ของกรมสรรพากร • ของกรมศุลกากร • ของกรมสรรพาสามิต • ต้นทุนในการก่อสร้างถนน 1 กิโลเมตรมีต้นทุนกี่บาท (กรมทางหลวง /กรมทางหลวงชนบท) • การดำเนินการจดทะเบียนรถ ต่อครั้ง มีต้นทุนกี่บาท • การดำเนินการด้านใบอนุญาตขับรถ ต่อราย มีต้นทุนกี่บาท • การคืนหรือยกเว้นอากรเพื่อส่งเสริมการส่งออก 1 ฉบับ • การบริหารจัดการหนี้สาธารณะมีต้นทุนรวมเท่าไร • การรับจดทะเบียนจัดตั้ง/เปลี่ยนแปลงแก้ไข/เลิกธุรกิจของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 1ราย มีต้นทุนเท่าไร 1 ลบ. = 6,983.57 บาท หรือ 0.007 ต่อ 1 บาท • 1 ลบ. = 26,843.83 บาท หรือ 0.027 ต่อ 1 บาท = 5,029.73 บาท หรือ 0.005 ต่อ 1 บาท • กรมทางหลวง 39 ล้านบาท/กรมทางหลวงชนบท เขตเมือง 14 ล้าน เขตชนบท 2 ล้านบาท • 249.68 บาท • 96.84 บาท • 90.52 บาท • 105 ล้าน ต่อการบริหารหนี้ 3 ล้านล้านบาท • 207.99 บาท

  3. ความเป็นมา

  4. ทำไมต้องปรับปรุงการบริหารองค์กรภาครัฐทำไมต้องปรับปรุงการบริหารองค์กรภาครัฐ ภาครัฐเป็นหนึ่งในหัวรถจักรหลักที่นำพาความเจริญมาสู่ประเทศชาติ ความคาดหวังของประชาชนเจ้าของประเทศที่สูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมที่รวดเร็ว การแข่งขันระหว่างประเทศทวีความรุนแรงมากขึ้น โลกาภิวัฒน์ กฎหมาย/ข้อตกลงระหว่างประเทศ การเปิดเสรี ตลอดจนการรวมเป็นกลุ่มของประเทศต่าง ๆ

  5. องค์กรที่เน้นยุทธศาสตร์(Strategy focused Organization) องค์กรที่มีผลสัมฤทธิ์สูง(High Performance Organization)องค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning Organization) องค์กรแห่งพลวัตและการปรับเปลี่ยน(Dynamic and agile Organization)องค์กรที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ(From Good to Great, towards an excellence)

  6. ความเป็นเลิศขององค์กรภาครัฐความเป็นเลิศขององค์กรภาครัฐ • ประชาชนได้รับการบริการ/ดูแลอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิผล • พันธกิจที่ได้รับมอบหมายสามารถบรรลุได้อย่างมีประสิทธิผล • การดำเนินการของภาครัฐที่มีประสิทธิภาพสูง รวดเร็ว โปร่งใส • การใช้จ่ายงบประมาณมีประสิทธิภาพสูง คุ้มค่า มีผลิตภาพสูง • ประเทศชาติมีความมั่นคง และศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้น

  7. พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 1 การบริการกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ (มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา 50-มาตรา 53)

  8. ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 4

  9. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

  10. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  11. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  12. วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิตวัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1 พัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินที่ดี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) เพิ่มความรับผิดชอบต่อสาธารณะ Accountability เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจในการการบริหารจัดการ การวัดผลการดำเนินงาน

  13. ประโยชน์ของข้อมูลต้นทุนประโยชน์ของข้อมูลต้นทุน 5 ด้าน (ข้อมูลจาก “การบัญชีเพื่อการบริหารต้นทุนภาครัฐ” มาตรฐานการบัญชีการเงินภาครัฐ ฉบับที่ 4) 1. การควบคุมต้นทุนและงบประมาณ 2. การวัดผลการดำเนินงาน 3. การกำหนดค่าธรรมเนียม (เช่น มหาวิทยาลัย) 4. ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม 5. การตัดสินใจของคำนึงถึงความเหมาะสมทางการเงิน

  14. ตัวชี้วัดที่ 9 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

  15. เงื่อนไข • ให้ส่วนราชการส่งผลการดำเนินงานในระดับคะแนนที่ ๑ ถึงกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ • ให้ส่วนราชการส่งผลการดำเนินงานในระดับคะแนน ๒ และ ๓ ถึงสำนักงบประมาณกรมบัญชีกลาง และ สำนักงาน ก.พ.ร.ภายในวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ • ให้ส่วนราชการส่งผลการดำเนินงานในระดับคะแนนที่ ๔ ถึงกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๕ • ให้ส่วนราชการส่งผลการดำเนินงานในระดับคะแนนที่ ๕ ถึงกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕

  16. แนวทางการประเมินผล

  17. แนวทางการประเมินผล

  18. แนวทางการประเมินผล

  19. แนวทางการประเมินผล

  20. แนวทางการประเมินผล

  21. แนวทางการประเมินผล

  22. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ

  23. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การบัญชีต้นทุน Cost accountingหมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก การจำแนกการปันส่วน การสรุป และการรายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กับ ผู้บริหาร

  24. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การบัญชีต้นทุน Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้ ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ บริการ

  25. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การบัญชีต้นทุน Direct Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็นผู้ผลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด

  26. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนทางอ้อม Indirect Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มใช้ร่วมกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Centerใดเพียงแห่งเดียว

  27. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ การปันส่วนต้นทุน Allocationหมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง กิจกรรม กระบวนการผลิต การดำเนินงาน หรือ ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ

  28. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ ต้นทุนรวม Full Costหมายถึง ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ต้องคำนึง แหล่งเงินทุน และเป็นการคำนวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่บันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง

  29. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยต้นทุน Cost Centerหมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่ กำหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต

  30. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยงานหลัก Functional Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการ สร้างผลผลิตของหน่วยงาน

  31. ความหมายและคำจำกัดความความหมายและคำจำกัดความ หน่วยงานสนับสนุน Support Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน

  32. คำศัพท์ ผลผลิตหลัก หมายถึง ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงผลผลิตอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการผลิตผลผลิตผลผลิตย่อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงานภาครัฐทำการผลิต และส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

  33. คำศัพท์ กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมกิจกรรมย่อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

  34. การวิเคราะห์และกำหนดรหัสกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดรหัสกิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย ส่วนราชการต้องวิเคราะห์กิจกรรมในการดำเนินงาน ของหน่วยงาน และทำการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อยเพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานในรูปของต้นทุนกิจกรรมต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมควรจะสามารถเปรียบเทียบได้ระหว่างปีของหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงานได้

  35. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • นักวิเคราะห์จะกำหนดกิจกรรมละเอียดหรือหยาบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ การระบุกิจกรรมที่ละเอียดเกินไปอย่างทำให้ต้นทุนกับประโยชน์ที่ได้รับไม่คุ้มกัน • ต้นทุน-ประโยชน์ คุ้มหรือไม่ขึ้นอยู่กับความตั้งใจในการใช้ข้อมูลต้นทุนกิจกรรม • การตัดสินใจพัฒนากิจกรรมขององค์กรอาจต้องการข้อมูลกิจกรรมที่ละเอียด • เป็นการวิเคราะห์กระบวนการทำงานอย่างละเอียดในแต่ละศูนย์ต้นทุน • แต่ละศูนย์ต้นทุนทำกิจกรรม 1 กิจกรรมหรือมากกว่า เพื่อที่จะสร้างผลผลิต

  36. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • โครงสร้างของส่วนราชการว่าประกอบด้วย สำนักฯ กอง ศูนย์ อะไรและมีภารกิจอะไรจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับศูนย์ต้นทุน • ในช่วงเริ่มแรก การกำหนดกิจกรรมในศูนย์ต้นทุนอาจจะกำหนดจากจำนวนฝ่ายหรือกลุ่มย่อยภายใต้ศูนย์ต้นทุนหรือกิจกรรมการทำงานหลักที่เกิดขึ้นจริง • กำหนดหน่วยนับของกิจกรรมย่อย ให้พิจารณาดังนี้ • กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับตามหน่วยงานอื่น • กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่ไม่มีหน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับให้เหมาะสมโดยคำนึงถึงความสม่ำเสมอในแต่ละปี โดยหน่วยนับแสดงถึงปริมาณงานของกิจกรรม

  37. การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยการวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย • ผลผลิตย่อย ต้องเป็นผลผลิตที่ส่งมอบให้กับบุคคลภายนอกที่มี ความละเอียดในส่วนของชื่อผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ส่วนราชการ ดำเนินการผลิต รวมถึงต้องมีการกำหนดหน่วยนับให้เหมาะสม

  38. สิ่งสำคัญในการกำหนดผลผลิตย่อย คือ ต้องมีความสม่ำเสมอและสามารถเปรียบเทียบได้ในแต่ละปีตลอดจน Benchmark ได้ทั้งภายในหน่วยงานและภายนอกหน่วยงาน การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย

  39. วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 1. วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยและกิจกรรมย่อย พร้อมทั้งหน่วยนับ 2. กำหนดศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน 3. ดึงข้อมูลต้นทุนจากระบบ GFMIS ตามศูนย์ต้นทุนและแหล่งของเงิน 4. คำนวณหาต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน 5. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย 6. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมหลัก 7. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตย่อย 8. คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตหลัก

  40. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตสำหรับส่วนราชการสังกัดกระทรวงรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตสำหรับส่วนราชการสังกัดกระทรวง

  41. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 1 รายงานต้นทุนรวมของหน่วยงานโดยแยกประเภทตามแหล่งเงิน

  42. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 1 รายงานต้นทุนรวมของหน่วยงานโดยแยกประเภทตามแหล่งเงิน(ต่อ)

  43. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 2 รายงานต้นทุนตามศูนย์ต้นทุนแยกตามประเภทค่าใช้จ่าย

  44. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 3 รายงานต้นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งของเงิน

  45. รูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิตรูปแบบรายงานการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 4 รายงานต้นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่งของเงิน

More Related