1 / 230

ยินดีต้อนรับ

ยินดีต้อนรับ. เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขต 9 นายแพทย์ธำรงค์ สมบุญตนนท์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 9 และคณะ ด้วยความยินดียิ่ง. 8 อำเภอ 58 ตำบล/4 39 หมู่บ้าน/ 25 เทศบาล/ 42 อบต. ปลวกแดง. วังจันทร์. นิคมพัฒนา. บ้านค่าย. แกลง. บ้านฉาง. เมือง. อ่าวไทย.

annot
Download Presentation

ยินดีต้อนรับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขต 9 นายแพทย์ธำรงค์ สมบุญตนนท์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 9 และคณะ ด้วยความยินดียิ่ง

  2. 8 อำเภอ 58 ตำบล/439 หมู่บ้าน/25 เทศบาล/ 42 อบต. ปลวกแดง วังจันทร์ นิคมพัฒนา บ้านค่าย แกลง บ้านฉาง เมือง อ่าวไทย จังหวัดระยอง เขาชะเมา เขาชะเมา

  3. โรงพยาบาลรัฐ รพศ. 555 เตียง 1 แห่ง รพช. 120 เตียง 2 แห่ง รพช. 30 เตียง 6 แห่ง รพ.เขาชะเมา รพ.วังจันทร์ รพ.ปลวกแดง รพ.นิคมพัฒนา รพ.บ้านค่าย รพ.แกลง รพ.มาบตาพุด รพ.บ้านฉาง รพ.ระยอง อ่าวไทย

  4. โรงพยาบาลเอกชน 3 แห่ง อ.เมือง รพ.มงกุฎระยอง รพ.รวมแพทย์ รพ.กรุงเทพระยอง

  5. ระดับสถานบริการสุขภาพตาม GIS ทุติยภูมิระดับต้น ทุติยภูมิระดับกลาง ทุติยภูมิระดับสูง ตติยภูมิ รพ.ปลวกแดง รพ.เขาชะเมา รพ.วังจันทร์ รพ.นิคมพัฒนา รพ.บ้านค่าย รพ.มาบตาพุด รพ.แกลง รพ.บ้านฉาง รพ.ระยอง

  6. โครงสร้างอายุประชากร ประชากรกลางปี 53 : 619,073 คน

  7. อัตราการเข้ารับบริการของประชาชน 5 กลุ่มโรคแรก จังหวัดระยอง ที่มา : รง.504

  8. อัตราป่วยของผู้ป่วยใน 5 อันดับแรก จังหวัดระยอง ที่มา : รง.505

  9. สาเหตุการตาย พ.ศ. 2552 ต่อแสนประชากร

  10. ลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ปี 2554 1.เบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.โรคมะเร็ง 3.มลพิษสิ่งแวดล้อม 4.ไข้เลือดออก 5.ปัญหาอนามัยการเจริญพันธ์ในวัยรุ่น 6.โรคเอดส์ 7.อุบัติเหตุจราจร 8.ไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 9.สุขภาพจิตและการฆ่าตัวตาย 10.วัณโรค

  11. ปัญหาสาธารณสุขและแนวทางแก้ไข ของจังหวัดระยอง ปัญหา มลพิษหลากหลาย โรคร้ายทวีคูณ ข้อมูลเก็บซุก เชิงรุกมีน้อย ถดถอยประสานงาน หย่อนยานควบคุมกำกับ แนวทางแก้ไข ข้อมูลมีใช้ จริงใจลดโรค ไม่เศร้าโศกมลพิษ พิชิตงานเชิงรุก บุกเยี่ยมเครือข่าย ไม่หน่ายควบคุมกำกับ

  12. แนวทางการบริหารจัดการแนวทางการบริหารจัดการ จังหวัดระยอง - รูปแบบ PRM Model (Primary Care Rayong Management Model) -แนวทางการติดตาม กำกับ และ ประเมินผลงาน - Flow Chart การบริหารจัดการ - MOU

  13. นโยบายการดำเนินงานสาธารณสุข ของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยอง รูปแบบ PRM Model (Primary Care Rayong Management Model) บริการรักษาโรคเรื้อรัง เครือข่ายบริการ บริการรักษาทั่วไป เร่งรัดงานเด่น 1. DM,HT 2. SLM # ปัญหาของระยอง # 1.ข้อมูล 2. มลพิษและสิ่งแวดล้อม 3. โรค CD/NCD 4. งานเชิงรุก 5. การประสาน/บูรณาการ 6. ควบคุมกำกับ เกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ EMS ระบบเชื่อมโยงกับรพ.>ระบบส่งต่อ/ ข้อมูลผู้รับบริการ/ เวชภัณฑ์/ คำปรึกษา/3ดี รพสต. SRM สุขศึกษา ป่วย เสี่ยง ปกติ หน่วยบริการปฐมภูมิ แผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Area ต้นแบบ 1 รร. นวัตกรรม 1 หมู่บ้าน แผน *Strategy Map เยี่ยมบ้าน กองทุนตำบล/คกก. ออกกำลังกาย DM/HTในชุมชน SRRT แพทย์แผนไทย คบส./ปัญหาของพื้นที่/ อื่นๆ กลุ่มอายุ/ งาน ข้อมูล 1.เครือข่ายสุขภาพชุมชน 2. Home Ward 3. อนามัยรร. 4. พัฒนาอสม./แกนนำครอบครัว 5. ควบคุมโรคระบาด/ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 6. มลพิษและสิ่งแวดล้อม 7. ปัญหาพื้นที่ / อื่นๆ ม.1 ม. 2 ม.3 ม.4 …. 1. Family Folder 2.HCA /มาตรฐานรพสต./PCA 3. Composite Indicator 4.18 แฟ้ม , CA 5. ซ้อมแผนระดับตำบล 6. ชุมชนสร้างสุขภาพ 7. ปัญหาพื้นที่ / อื่นๆ • * ANC • หลังคลอด • * EPI • * DM,HT,TB,CA • หอบหืด,ลมชัก,ปัญญาอ่อน • * ผู้พิการ • ผู้สูงอายุ • ผู้ถูกทอดทิ้ง • ปัญหาพื้นที่/อื่นๆ On Top Payment เกณฑ์คุณภาพบริการ 20 บาท/หัว PCU จัดบริการแยกผ่านเกณฑ์ 100 บาท/หัว PCU จัดบริการร่วม ผ่านเกณฑ์ 50 บาท/หัว PCU จัดบริการร่วม ผ่านเกณฑ์หลัก /ไม่ผ่านรอง แต่ (มีแผนพัฒนา) 50 บาท/หัว PCU จัดบริการร่วม ไม่ผ่านเกณฑ์ หลัก 0 บาท/หัว

  14. คณะที่ 1การดำเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน

  15. หัวข้อที่ 1โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

  16. แผนภูมิรูปแสดงอัตราต่อแสนประชากร จำนวนผู้ป่วยเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง จ.ระยอง ปี พ.ศ. 2550 - 2552

  17. การบริหารจัดการโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯจังหวัดระยอง ลงทะเบียนผู้ป่วยDM/HT ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วย พิการเสียชีวิต สมอง หัวใจ ตา ไต เท้า คัดกรองกลุ่มเสี่ยง Metabolic ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มปกติ รักษา ตรวจภาวะแทรกซ้อนHb A1c LDL/Cholesterol Micro albumin Eye exam Foot exam กลุ่มเสี่ยง Pre – DM Pre - HT ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดคลินิก DPAC สนับสนุนการดูแลตนเอง บุคคลต้นแบบ กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน

  18. การดำเนินงานตามโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ผลงาน 5 เดือน (เดือน ตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554)

  19. ปล่อยรถตรวจสุขภาพ

  20. ตรวจสุขภาพเชิงรุก

  21. กิจกรรมการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตและตรวจสุขภาพเชิงรุก โดยรถตรวจสุขภาพเคลื่อนที่

  22. ภาพกิจกรรมการฉายเลเซอร์ตาภาพกิจกรรมการฉายเลเซอร์ตา

  23. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  24. รวมพล คนรักสุขภาพ

  25. หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

  26. ผลการดำเนินงาน เกณฑ์การให้คะแนนประกอบด้วย 8 องค์ประกอบดังนี้

  27. ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดีเยี่ยม

  28. แผนภูมิรูปแสดงอัตราต่อแสนประชากร การเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จ.ระยอง ปี พ.ศ. 2551 - 2554

  29. - กลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานปี 2552 = 27,758 • ป่วยเป็นเบาหวานปี = 5,307 • คิดเป็นร้อยละ 11.10 • กลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานปี 2553 = 34,411 • ป่วยเป็นเบาหวานปี 2554 = 985 • คิดเป็นร้อยละ 2.8 • ผลลัพธ์ ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 8.3

  30. หัวข้อที่ 2 การควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

  31. สถานการณ์ 1.หญิงตั้งครรภ์ในจังหวัดระยองมีภาวะขาดสารไอโอดีน ในระดับรุนแรง ร้อยละ 79 2.อัตราการขาดสารไอโอดีนในทารกแรกเกิด มีค่า TSH มากกว่า 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร ร้อยละ 9.56 3. เกลือบริโภคที่ใช้มีคุณภาพร้อยละ 51.02 4. ความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพในครัวเรือน ร้อยละ 91.63 5.เด็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 99.82 จังหวัดระยองเป็น 1 ใน 7 จังหวัด ที่มีหญิงตั้งครรภ์ มีภาวะขาดสารไอโอดีนอย่างรุนแรง ข้อมูลสนับสนุน

  32. การบริหารจัดการ 1.ใช้มาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า 2.จ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย 3.เฝ้าระวังภาวะขาดสารไอโอดีน (ในคน,ในเกลือ) - คัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด - ตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ - สำรวจคุณภาพเกลือที่ใช้ในครัวเรือน - ตรวจแหล่งผลิต/บรรจุ/จำหน่ายเกลือบริโภค

  33. การบริหารจัดการ(ต่อ) 4. รณรงค์จังหวัดระยอง “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” อย่างต่อเนื่อง 5. ดำเนินการชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน 6. สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย เพื่อการมีส่วนร่วม - พัฒนาชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน - พัฒนาชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน - ประชุมภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการเสริมไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ดังนี้ 6.1 น้ำปลา 6.2 ใส่เกลือเสริมไอโอดีน 7. แต่งตั้ง อสม. ทุกคนเป็นทูตไอโอดีน (9,620 คน) 8. ประชาสัมพันธ์การบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง

  34. ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีน จังหวัดระยอง การเฝ้าระวังในคน การเฝ้าระวังในเกลือ

  35. การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต) จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน การควบคุมคุณภาพ โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ร้านค้า ควบคุมโดย เจ้าหน้าที่ของรัฐ ครัวเรือน ควบคุมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ,ผู้บริโภค, อสม., อย.น้อย

  36. กระจายสินค้า ขาย สถานที่ผลิตเกลือ ร้านค้า ครัวเรือน การควบคุมคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนและเฝ้าระวังและติดตามการขาดสารไอโอดีน กลุ่มประชากร ระดับไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ พัฒนาการ TSH เด็กวัยก่อนเรียน เด็กแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์

  37. ผลการดำเนินงาน ร้อยละของทารกแรกเกิดที่มีค่า TSH มากกว่า 11.2 mU/L in serum หรือมากกว่า 5.0 mU/L in blood ปี 2550-2554 ข้อมูลภาพรวมจังหวัดระยอง

  38. ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ข้อมูลภาพรวมจังหวัดระยอง

  39. ผลการดำเนินงาน ความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน ปี 2550-2554 ข้อมูลภาพรวมจังหวัดระยอง

  40. หัวข้อที่ 3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

  41. แผนงาน แผนพัฒนาคุณภาพ PCA ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ( Primary Care Award : PCA) แผนสนับสนุนการทำนวัตกรรมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และมีเวทีแลกเปลี่ยนผลงานทางวิชาการในระดับจังหวัด เดือนมิถุนายน 2554 แผนในการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ตามนโยบาย 5 ด้าน ให้ผ่านตามเกณฑ์ รพ.สต.ของกระทรวงสาธารณสุข และเกณฑ์ของสำนักงานก.พ.ร. พัฒนาหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปี 2554 ให้ครบทุกแห่ง แผนการจัดอบรมรักษาพยาบาลเบื้องต้น การป้องกันควบคุมโรค ส่งเสริมสุขภาพแก่พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่จบใหม่และรับสมัครใหม่ วันที่ 20-22 เมษายน 2554 แผนการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

  42. ผลงาน 1. ชี้แจงเกณฑ์ รพ.สต. และ ภารกิจ 5 ด้าน 2. จัดทำแผนพัฒนา รพ.สต. ปี 2554 3. จัดทำแผนงบประมาณครุภัณฑ์ งบดำเนินงาน และงบสาธารณูปโภค ปี 2554 (งบ 46 ล้านบาท) 4. จัดทำป้าย รพ.สต. ครบทุกแห่ง ตามเป้าหมาย ปี 2554

  43. 5. จัดจ้างบุคลากร พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 10 คน • นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 52 คน • 6. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เชื่อมต่อ • ระหว่างแม่ข่ายไปลูกข่าย • 7. แต่งตั้งคณะกรรมการ 4 ภาคส่วนใน รพ.สต. • ทุกแห่ง • 9. ให้บริการยาสมุนไพรทุก รพ.สต. • มีนักแพทย์แผนไทย 3 แห่ง ที่รพ.สต. ตะพง, • รพ.สต. เนินพระ และ รพ.สต.ยายร้า

  44. การพัฒนาคน • อบรมหลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. หลักสูตร 4 เดือน จำนวน 11 คน • อบรมหลักสูตรผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข • ใน รพ.สต. หลักสูตร 4 เดือน จำนวน 12 คน

  45. ประชุมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการเชิงรุก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดระยอง

More Related