1 / 35

มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ พฤษภาคม 2556

มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ พฤษภาคม 2556. 10 ยาเสพติด ที่ร้ายแรงที่สุด. 6. เค ตามีน 7. เบนโซ ไดอะ ซีปีน 8. แอมเฟ ตามีน (ยาบ้า) 9. บุหรี่ 10. บูพรีนอร์. ข้อมูล : รายงานของศูนย์อาชญากรรมและยุติธรรมศึกษา สหราชอาณาจักร. 1. เฮโรอีน 2. โคเคน 3. บาร์บิวทัวเรท

angus
Download Presentation

มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ พฤษภาคม 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่พฤษภาคม 2556

  2. 10 ยาเสพติดที่ร้ายแรงที่สุด 6. เคตามีน 7. เบนโซไดอะซีปีน 8. แอมเฟตามีน (ยาบ้า) 9. บุหรี่ 10.บูพรีนอร์ ข้อมูล : รายงานของศูนย์อาชญากรรมและยุติธรรมศึกษา สหราชอาณาจักร 1. เฮโรอีน 2. โคเคน 3. บาร์บิวทัวเรท 4. เมทาโดน 5. แอลกอฮอล์

  3. บุหรี่: ติด แล้วเลิกยาก “บุหรี่และการบริโภคยาสูบในรูปแบบอื่นๆ เป็นการเสพติด คือใช้เป็นประจำและไม่สามารถเลิกได้ การหยุดสูบมักจะตามมาด้วยอาการถอนยา กระบวนการทางยาและพฤติกรรมก็จะเหมือนๆ กับการติดยาเสพติดอื่นๆ เช่น เฮโรอีน โคเคน” รายงานของศัลยแพทย์ใหญ่สหรัฐอเมริกา (2531)

  4. คือ อาการเสพติด สิ่งที่ระบุว่า บุหรี่ คือ ยาเสพติด

  5. บุหรี่ : ไม่ได้สูบ ทรมาน • เมื่อเลิกสูบบุหรี่ ระดับนิโคตินในกระแสเลือดจะลดลง ก่อให้เกิดอาการขาดสารนิโคติน คือ วิตกกังวล โกรธง่าย หงุดหงิดอารมณ์ฉุนเฉียวง่าย และกระสับกระส่าย • อาการจะมากใน 2-3 วันแรก จากนั้นอาการจะบรรเทาลงและเป็นปกติในที่สุด

  6. บริษัทบุหรี่รู้มานานกว่า 40 ปีแล้ว ว่า นิโคตินในบุหรี่ เป็นสารเสพติด

  7. นี่คือข้อมูลจากเอกสารลับของบริษัทบุหรี่ ยืนยันข้อเท็จจริงที่บริษัทบุหรี่พยายามปกปิด

  8. (บริษัท บริติช อเมริกันโทแบคโค พ.ศ. 2523) “....เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า บุหรี่เป็นสิ่งเสพติด ผู้สูบบุหรี่จำนวนมากยังคงสูบต่อไป เพราะไม่สามารถเลิกได้ ถ้าเลิกได้ก็คงเลิกไปแล้ว”

  9. “ทำไมผู้คนจึงสูบบุหรี่? … เพื่อผ่อนคลาย เพื่อรสชาติ เพื่อฆ่าเวลา เพื่อให้มือไม่ว่าง ... แต่ที่สำคัญที่สุด ผู้คนยังคงสูบบุหรี่ต่อไปก็เพราะว่า จะไม่มีความสุข หากหยุดสูบ” (จากการประชุมเป็นการภายในของบริษัทฟิลลิป มอร์ริส 20 มีนาคม พ.ศ. 2527)

  10. “นิโคตินเป็นสิ่งเสพติด เพราะฉะนั้น เราจึงอยู่ในธุรกิจของการขายนิโคติน ซึ่งเป็นยาเสพติด” (คำพูดของ Addison Yeamanจากบริษัทบราวน์ แอนด์วิลเลียมสัน .. .17 กรกฎาคม พ.ศ. 2506)

  11. “ผมจะบอกให้ว่าทำไมผมจึงทำธุรกิจบุหรี่ เพราะมันใช้เงินลงทุนเพียงไม่กี่เพนนี แต่สามารถขายได้ หลายดอลลาร์ มันเป็นยาเสพติด และมันทำให้คนที่ติดแล้วไม่สามารถเปลี่ยนใจไปสูบยี่ห้ออื่นได้” (วอร์เรน บัพเฟต อดีตผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท อาร์ เจ เรย์โนลด์ ผู้ผลิตบุหรี่ยี่ห้อ คาเมล วินสตัน)

  12. แต่ผู้บริหารสูงสุดของบริษัทบุหรี่ 7 บริษัท ในสหรัฐอเมริกา ยกมือสาบานว่า “นิโคตินไม่ใช่ยาเสพติด” ขณะเข้าชี้แจงต่อรัฐสภาสหรัฐเมื่อปี พ.ศ. 2537

  13. ใครคือกลุ่มเป้าหมายของพ่อค้าบุหรี่ใครคือกลุ่มเป้าหมายของพ่อค้าบุหรี่

  14. นายไมเคิล อี จอห์นสตัน นักวิจัยของบริษัทฟิลลิป มอร์ริส ปี 2524 วัยรุ่นวันนี้ คือผู้ที่จะเป็นลูกค้าประจำ ของเราในวันหน้า...”

  15. เยาวชน คือ ความอยู่รอดของบริษัทบุหรี่ บริษัทอาร์ เจ เรย์โนลด์ พ.ศ. 2516 “ หากจะให้บริษัทเราอยู่รอดและก้าวหน้าต่อไป เราจะต้องช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดที่เป็นเยาวชน มาเป็นของเราในระยะยาว ดังนั้น เราจะต้องออกบุหรี่ยี่ห้อใหม่ๆ ให้มีรูปลักษณ์เย้ายวนใจผู้สูบบุหรี่อายุน้อยๆ”

  16. เยาวชนไทยติดบุหรี่แล้วนับล้านเยาวชนไทยติดบุหรี่แล้วนับล้าน • ประเทศไทยมีผู้ติดบุหรี่ (พ.ศ. 2552) 12.5 ล้านคน • ในจำนวนนี้ เป็นเยาวชนอายุ 15 – 24ปี 1,671,194 คน

  17. เม็ดเงินมหาศาลสู่บริษัทบุหรี่เม็ดเงินมหาศาลสู่บริษัทบุหรี่ บนความตายและความสูญเสียของผู้สูบ

  18. “ยาสูบเป็นสินค้าเสพติด ที่คร่าชีวิตครึ่งหนึ่งของผู้สูบบุหรี่ที่ไม่เลิกสูบ”

  19. ความสูญเสียจากการสูบบุหรี่ความสูญเสียจากการสูบบุหรี่ ทั่วโลกเสียชีวิตจากยาสูบ ปีละ 6 ล้านคน วันละ 16,438 คน =เครื่องบิน 747 ที่บรรทุกผู้โดยสาร 350 คนตกปีละ 17,142 ลำ ตกวันละ 47 ลำทุกวัน หรือ 2 ลำ ทุกชั่วโมง

  20. คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ ปีละ 50,700 คน (= จำนวนคนตายจากเครื่องบิน 747 ตก 144 ลำ) วันละ 139 คน ชั่วโมงละ 5.8 คน หรือ 1 คนในทุก ๆ 10 นาที

  21. โรคที่คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่โรคที่คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ โรคหัวใจและหลอดเลือด 11,666คนต่อปี โรคมะเร็งปอด 11,740 คนต่อปี โรคมะเร็งที่คอ 7,244 คนต่อปี โรคถุงลมปอดโป่งพอง 11,896 คนต่อปี โรคอื่นๆ 8,164 คนต่อปี

  22. กำไรบริษัทบุหรี่105,000 ล้านบาท ปี 2553: กำไรสุทธิของ 6 บริษัทบุหรี่ = 35,000 ล้านเหรียญ หรือ 105,000ล้านบาท = กำไรของบริษัทโค้ก ไมโครซอพ และแมคโดนัลรวมกัน

  23. โบนัสของ CEO บริษัทบุหรี่ (พ.ศ.2553) The Tobacco Atlas , 4th Edition March 2012

  24. ประเด็นการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก พ.ศ.2556 “ไม่ใช้ ไม่รับ ไม่สนับสนุนโฆษณา ยาสูบร้าย ทำลายชีวิต”

  25. พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 • ห้ามโฆษณา-ส่งเสริมการขาย อุปถัมภ์สินค้ายาสูบ ในทุกสื่อ ทั้งทางตรงและทางอ้อม • ห้ามลด-แลก-แจกแถม • ห้ามขายโดยเครื่องขายอัตโนมัติ

  26. ประกาศกรมประชาสัมพันธ์ประกาศกรมประชาสัมพันธ์ “ห้ามแสดงหรือโฆษณา การได้รับการสนับสนุน.....จากบริษัทผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้แทนจำหน่ายซึ่งยาสูบ ทางวิทยุและโทรทัศน์” (ห้ามประชาสัมพันธ์การทำ CSR) พฤษภาคม 2548

  27. อนุสัญญาควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลก พ.ศ.2548 ข้อ 13 - ห้ามโฆษณา ส่งเสริมการขาย การอุปถัมภ์ทุกรูปแบบ - ห้ามการทำกิจกรรมเพื่อสังคม “CSR” - ควบคุมการมีฉากสูบบุหรี่ในภาพยนตร์ - ห้ามโฆษณาข้ามพรหมแดน ข้อ 5.3 - ห้าม จนท. / หน่วยงานราชการร่วมทำกิจกรรมเพื่อสังคมของบริษัทบุหรี่

  28. มติ คณะรัฐมนตรี 17 เมษายน 2555 เห็นชอบตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ “ห้ามธุรกิจยาสูบทำกิจกรรมภายใต้นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR)”

  29. “กิจกรรมเพื่อสังคม” ของบริษัทบุหรี่ จึง “ผิดกฎหมาย” หรือ “ผิดเจตนารมณ์ของกฎหมาย”

  30. วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของกิจกรรมเพื่อสังคม(CSR)ของบริษัทบุหรี่วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของกิจกรรมเพื่อสังคม(CSR)ของบริษัทบุหรี่ 1. เบี่ยงเบนความสนใจของสังคมและผู้กำหนดนโยบายจากธุรกิจหลักของบริษัท 2. เพื่อลดทอนกระแสการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ 3. ปิดปากบุคคล – องค์กรที่รับการสนับสนุนการบริจาค 4. สร้างการยอมรับการสูบบุหรี่

  31. บริษัทบุหรี่น่าเชื่อถือหรือไม่บริษัทบุหรี่น่าเชื่อถือหรือไม่ ผล ธุรกิจยาสูบ มีความน่าเชื่อถืออยู่ที่อันดับสุดท้ายของ 25 ประเภทธุรกิจที่ทำการสำรวจ การสำรวจความน่าเชื่อถือของธุรกิจระดับโลก โดยการสำรวจผู้บริโภค 80,000 คน จาก 32 ประเทศ โดย ReputationInstitute ที่เชี่ยวชาญการบริหารจัดการความน่าเชื่อขององค์กร พ.ศ. 2553

  32. บริษัทบุหรี่เป็นผู้ผลิต และส่งเสริมการขายสินค้ายาสูบ ซึ่งเป็นสิ่งเสพติด และ ทำให้ ครึ่งหนึ่งของผู้บริโภคเสียชีวิต ด้วยการวางแผนการผลิต ออกแบบผลิตภัณฑ์และส่งเสริมการขายอย่างจงใจและโดยมืออาชีพ

  33. จึงเป็นไปไม่ได้ที่บริษัทบุหรี่จะบอกว่า ต้องการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการทำกิจกรรมเพื่อสังคม

  34. ประเด็นการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก พ.ศ.2556 “ไม่ใช้ ไม่รับ ไม่สนับสนุนโฆษณา ยาสูบร้าย ทำลายชีวิต”

  35. www.ashthailand.or.th ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม ขอรับสื่อ

More Related