1 / 41

ความเป็นพลเมือง สัญชาติ Citizenship, Nationality

ความเป็นพลเมือง สัญชาติ Citizenship, Nationality. ควรให้การรักษาพยาบาลแก่คนพม่าที่เจ็บป่วยบริเวณชายแดน แล้วเข้ามาในโรงพยาบาลของไทยหรือไม่ ถ้าควร ด้วยเหตุผลอะไร ถ้าไม่ควร ด้วยเหตุผลอะไร. ควรจะปฏิบัติต่อชาวโรฮิงยาอย่างไร ควรรับเขาไว้และให้การเลี้ยงดู เปิดโอกาสให้ทำงานเสมือนพลเมืองไทย

Download Presentation

ความเป็นพลเมือง สัญชาติ Citizenship, Nationality

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นพลเมือง สัญชาติCitizenship, Nationality

  2. ควรให้การรักษาพยาบาลแก่คนพม่าที่เจ็บป่วยบริเวณชายแดน แล้วเข้ามาในโรงพยาบาลของไทยหรือไม่ • ถ้าควร ด้วยเหตุผลอะไร • ถ้าไม่ควร ด้วยเหตุผลอะไร

  3. ควรจะปฏิบัติต่อชาวโรฮิงยาอย่างไรควรจะปฏิบัติต่อชาวโรฮิงยาอย่างไร • ควรรับเขาไว้และให้การเลี้ยงดู เปิดโอกาสให้ทำงานเสมือนพลเมืองไทย • หรือควรผลักดันเขาออกไปจากผืนแผ่นดินไทย เพราะไม่ได้เป็นพลเมืองไทย

  4. เพราะเหตุใดเราจึงรู้สึกว่าควรปฏิบัติต่อบุคคลเหล่านี้แตกต่างไปจาก “คนไทย” ด้วยกันเอง

  5. มิติในทางสังคม การถือสัญชาติเดียวกันทำให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน คนกลุ่มเดียวกัน • เช่น นักกีฬาทีมชาติ แม้อาจมีความแตกต่างอย่างมาก แต่ก็รู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน

  6. Zinadine Zidane • ชาวฝรั่งเศส เกิดในครอบครัวชาวแอลจีเรียอพยพ

  7. มิติในทางกฎหมาย การเป็นคนสัญชาติเดียวกันจะได้รับการคุ้มครองจากรัฐ และมีหน้าที่ในลักษณะเดียวกัน • เช่น การเข้าถึงบริการสาธารณสุข การศึกษา การเสียภาษี การได้รับความคุ้มกันจากกระบวนการยุติธรรม การมีสิทธิเลือกตั้ง ฯลฯ

  8. การเป็นพลเมืองของรัฐสมัยใหม่การเป็นพลเมืองของรัฐสมัยใหม่ • สัญชาติ (Nationality) และเชื้อชาติ (Race) • เชื้อชาติ คือ ลักษณะทางพันธุกรรมหรือทางวัฒนธรรมของผู้คน • สัญชาติ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับรัฐสมัยใหม่

  9. ความเข้าใจที่คับแคบบางประการความเข้าใจที่คับแคบบางประการ • ในแต่ละรัฐ จะมีพลเมืองที่มีลักษณะใกล้เคียงหรือคล้ายคลึงกันทั่วทั้งรัฐ หรือมีความพยายามจะทำให้คนภายในรัฐมีลักษณะที่เหมือนกัน • แต่ในความเป็นจริงแต่ละรัฐ มีพลเมืองที่มีเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ที่แตกต่างกันอย่างมาก

  10. หลักกฎหมายทั่วไปว่าด้วยการได้สัญชาติหลักกฎหมายทั่วไปว่าด้วยการได้สัญชาติ • การได้สัญชาติโดยการเกิด • การได้สัญชาติภายหลังการเกิด

  11. การได้สัญชาติโดยการเกิดมีการได้สัญชาติโดยการเกิดมี • การได้สัญชาติโดยหลักดินแดน <jus soli> • การได้สัญชาติโดยหลักสืบสายโลหิต <jus sanquinis>

  12. การได้สัญชาติโดยหลักดินแดนการได้สัญชาติโดยหลักดินแดน • บุคคลที่กำเนิดขึ้นในดินแดนของรัฐใด ก็ควรมีสิทธิได้สัญชาติของรัฐนั้น • ถือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับดินแดน

  13. แต่อาจมีข้อยกเว้นบางประการแต่อาจมีข้อยกเว้นบางประการ • การเข้าเมืองในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองแบบผิดกฎหมาย • ทำงานในองค์กรระหว่างประเทศ • เรียนหนังสือ ท่องเที่ยว • หลบหนีเข้าเมือง

  14. การได้สัญชาติโดยหลักสืบสายโลหิตการได้สัญชาติโดยหลักสืบสายโลหิต • บุคคลที่ถือกำเนิดขึ้นจากพ่อแม่ที่มีสัญชาติใดก็ควรจะต้องได้สัญชาตินั้น • เป็นการถ่ายทอดสัญชาติผ่านทางสายเลือด

  15. การได้สัญชาติภายหลังการเกิดการได้สัญชาติภายหลังการเกิด • การได้สัญชาติโดยการสมรส ถือหลักความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของครอบครัว • การได้สัญชาติโดยการแปลงสัญชาติ ถือหลักความผสมกลมกลืนของบุคคลกับสังคมนั้นๆ • การได้สัญชาติเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจรัฐ เป็นความจำเป็นของรัฐที่เปลี่ยนแปลงไป

  16. หลักกฎหมายว่าด้วยการเสียสัญชาติหลักกฎหมายว่าด้วยการเสียสัญชาติ • การเสียสัญชาติด้วยการแสดงเจตนาของเอกชน • เช่น การสละสัญชาติ • การเสียสัญชาติด้วยการแสดงเจตนาของรัฐ • เช่น การถูกถอนสัญชาติ

  17. กฎหมายสัญชาติในสังคมไทย กฎหมายสัญชาติในสังคมไทย

  18. พระราชสาสน์ ร.4 ถึงนโปเลียนที่ 3 พ.ศ. 2408 • “สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎพระเจ้ากรุงรัตนโกสินทร์ มหินทรายุทธยาเป็นมหาราชธานีใหญ่ในพระราชอาณาจักรฝ่ายสยาม คือแผ่นดินสยามเหนือใต้และดินแดนต่างๆ อยู่เคียงอยู่ใกล้ เป็นที่อยู่อาศัยของชนชาวประเทศมีเพศภาษาต่างๆ คือ ลาวกาว ลาวเฉียง กัมพูชา มลายูและกะเหรี่ยง”

  19. ก่อนหน้ารัชกาลที่ 5 • ในหนังสืออักขราภิธานศรับท์ 2416 ของหมอบรัดเลย์ ชาติ หมายถึงบังเกิด กำเนิดขึ้น หรือเป็นการเปรียบเปรยถึงบุคคลบางประเภท เช่น ชาติข้า ชาติหงส์ ชาติหมา • ตราบจนกระทั่งแนวคิดเรื่องรัฐสมัยใหม่แผ่อิทธิพลเข้ามา โดยประชาชนใต้อำนาจปกครองต้องมีลักษณะบางอย่างร่วมกันซึ่งก็คือ สัญชาติ

  20. การปฏิรูปการปกครองในสมัย ร.5 • จัดตั้งมณฑลลาวเฉียง (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน เถิน) > มณฑลพายัพ • จัดตั้งมณฑลลาวพวน (อุดร ขอนแก่น นครพนม สกลนคร เลย หนองคาย > มณฑลอุดร • จัดตั้งมณฑลลาวกาว เขมร หัวเมืองแขกมลายู > มลฑลไทรบุรี

  21. เจ้าแก้วนวรัฐ • เจ้าเมืองเชียงใหม่คนสุดท้าย • 2453 – 2482

  22. จนกระทั่งแนวคิดเรื่องรัฐสมัยใหม่แผ่อิทธิพลเข้ามา ตั้งแต่ ร. 5 โดยประชาชนใต้อำนาจปกครองต้องมีลักษณะบางอย่างร่วมกันซึ่งก็คือ สัญชาติ จึงทำให้เกิดกฎหมายว่าด้วยสัญชาติขึ้น แต่ในรัชกาลถัดมา • พระราชบัญญัติแปลงชาติ พ.ศ. 2454 • พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2456

  23. กฎหมายสัญชาติปัจจุบัน พ.ร.บ. สัญชาติ 2508 • การได้สัญชาติโดยการเกิด • หลักสืบสายโลหิต บุคคลย่อมได้สัญชาติไทยหากบิดาหรือมารดามีสัญชาติไทย แม้เกิดนอกราชอาณาจักรไทย

  24. หลักดินแดน ผู้ใดถือกำเนิดในราชอาณาจักรไทยจะได้รับสัญชาติ ยกเว้นบิดามารดาเป็นคนต่างด้าว และบิดาหรือมารดาเข้าเมืองแบบไม่ถาวร • ได้รับผ่อนผันเป็นกรณีเฉพาะราย • เข้าเมืองแบบชั่วคราว • เข้าเมืองโดยไม่ได้รับอนุญาต

  25. การได้สัญชาติภายหลังการเกิดการได้สัญชาติภายหลังการเกิด • หญิงต่างด้าวสมรสกับชายไทยสามารถขอมีสัญชาติตามสามี • แต่ถ้าเป็นชายต่างด้าวสมรสกับหญิงไทยไม่สามารถขอมีสัญชาติไทยโดยการสมรส • ทำไมจึงเป็นแบบนี้

  26. คนต่างด้าวแปลงสัญชาติ เงื่อนไขบรรลุนิติภาวะ ประพฤติดี มีอาชีพ อยู่ในไทยไม่น้อยกว่า 5 ปี มีความรู้ภาษาไทย

  27. Bruce Gaston

  28. บุรุษ เกศกรรณ

  29. ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนบางประการความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนบางประการ • บุคคลทุกคนต้องมีสัญชาติ ไม่มีใครที่ไม่มีสัญชาติ • บุคคลสองสัญชาติคือ ข้าสองเจ้า บ่าวสองนาย ไม่จงรักภักดีต่อประเทศใดประเทศหนึ่ง • บางประเทศกำหนดให้บุคคลมีเพียงสัญชาติเดียว ไม่สามารถถือสองสัญชาติ บางประเทศไม่กำหนด

More Related