1 / 27

ระบบการสื่อสารดาวเทียม

ระบบการสื่อสารดาวเทียม. อ.ปรีชา อูปคำ. ระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไร. ดาวเทียมสื่อสารนั้นเป็นสถานีทวนสัญญาณที่ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศ เข้าสู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพื้นโลกโดยประมาณ 35,786 Km ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี 2508 โดยองค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ

amy
Download Presentation

ระบบการสื่อสารดาวเทียม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการสื่อสารดาวเทียมระบบการสื่อสารดาวเทียม อ.ปรีชา อูปคำ

  2. ระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไรระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไร ดาวเทียมสื่อสารนั้นเป็นสถานีทวนสัญญาณที่ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศเข้าสู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพื้นโลกโดยประมาณ35,786 Km ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี 2508 โดยองค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL TELLECOMMUNICATIONS SATTELLITEORGANIZATION )หรือเรียกย่อๆ ว่า INTELSAT

  3. ระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไรระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไร ผู้ริเริ่มให้แนวคิดการสื่อสารดาวเทียมคือ “อาเธอร์ ซี คลาร์ก” (Arthur C. Clarke)โดยเขียนบทความ เรื่อง“EXTRA TERRESTRIALRELAYS”ในนิตยสาร“WIRELESS WORLD”ฉบับเดือนตุลาคม ปี ค.ศ.1945 โดยใช้สถานีถ่ายทอดที่ลอยอยู่ในอวกาศเหนือพื้นโลกขึ้นไป ประมาณ  35,786กิโลเมตรจำนวน 3สถานี

  4. ประวัติความเป็นมาของดาวเทียมประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 4 ต.ค.1957 สปุทนิก 1 (SPUTNIK 1)ของสหภาพโซเวียต พ.ย.1957 สปุทนิก  2  (SPUTNIK 2)โดยมีสุนัขชื่อ “ไลก้า” (LAIKA)ขึ้นไปด้วย 31 ม.ค.1958 อเมริกาก็ส่งดาวเทียมเอ็กซ์พลอเรอร์ 1 (EXPLORER 1) 18 ธ.ค. 1958 อเมริกาส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารดวงแรกมีชื่อว่า “สกอร์” (SCORE)

  5. ประวัติความเป็นมาของดาวเทียมประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 20 ส.ค. 1964 ก่อตั้ง INTELSAT 10 ต.ค. 1964  มีการถ่ายทอดโทรทัศน์พิธีเปิดงานกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 18 จากกรุงโตเกียวผ่านดาวเทียมSYNCOM IIIไปสหรัฐอเมริกา เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมครั้งแรกของโลก 6 เม.ย 1965  ดาวเทียม TELSAT 1 ที่รู้จักกันดีในชื่อว่าEARLY  BIRDส่งขึ้นไปเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเพื่อการพานิชย์ดวงแรกของโลก

  6. ประวัติความเป็นมาของดาวเทียมประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 20 ส.ค. 1964 ก่อตั้ง INTELSAT 10 ต.ค. 1964  มีการถ่ายทอดโทรทัศน์พิธีเปิดงานกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 18 จากกรุงโตเกียวผ่านดาวเทียมSYNCOM IIIไปสหรัฐอเมริกา เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมครั้งแรกของโลก 6 เม.ย 1965  ดาวเทียม TELSAT 1 ที่รู้จักกันดีในชื่อว่าEARLY BIRDส่งขึ้นไปเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเพื่อการพานิชย์ดวงแรกของโลก

  7. ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม ดาวเทียมดวงที่ 1 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก ดาวเทียมดวงที่ 2 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ดาวเทียมดวงที่ 3 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรอินเดีย

  8. วงโคจรดาวเทียม 1 วงโคจรตามแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit)  2 วงโคจรตามแนวขั้วโลก (เหนือ - ใต้) (Polar Orbit)

  9. วงโคจรดาวเทียม 1.วงโคจรระดับต่ำ (LEO:Low Earth Orbit) ความสูงไม่เกิน 2,000Km 2.วงโคจรผ่านขั้วโลก (PO:Polar Orbit) ความสูงไม่เกิน 2,000Km 3.วงโคจรระดับกลาง (MEO:Medium Earth Orbit) ความสูง 8,000-12,000Km 4.วงโคจรค้างฟ้า (GEO:Geosynchronous Earth Orbit) ความสูง 36,000Km

  10. วงโคจรดาวเทียม 1.วงโคจรระดับต่ำ (LEO:Low Earth Orbit) - ความสูงไม่เกิน 2,000Km- วงโคจรรูปวงกลม - 28,000 Km/ชั่วโมง(1รอบใช้เวลา30นาที) - โครงข่ายดาวเทียม Global Star โครงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านดาวเทียม (Iredium)

  11. วงโคจรดาวเทียม 2.วงโคจรผ่านขั้วโลก (PO:Polar Orbit) - ความสูงไม่เกิน 2,000Km- วงโคจรเคลื่อนที่เหนือไปใต้ - สำรวจพื้นผิวโลก สภาพแวดล้อม อากาศ - ดาวเทียม TIROS (Television Infrared Operation System) วิจัยทางวิทยาศาสตร์

  12. วงโคจรดาวเทียม 3.วงโคจรระดับกลาง (MEO:Medium Earth Orbit) - ความสูง 8,000-12,000Km - วงโคจรเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตร - ส่งข้อมูลความเร็วสูง ประชุมทางไกลด้วยภาพ หรือโทรศัพท์ผ่านดาวเทียม - ดาวเทียมทางวิทยาศาสตร์

  13. วงโคจรดาวเทียม 4.วงโคจรค้างฟ้า (GEO:Geosynchronous Earth Orbit/Geostationary Orbit) - วงโคจรคล้าก เป็นเกียรติแก่ Arthur C Clarck - ความสูง 36,000Km - วงโคจรระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตร - ความเร็วเท่าโลกหมุน(1รอบ/24ชั่วโมง) - ดาวเทียมสื่อสารโทรคมนาคม

  14. ตำแหน่งดาวเทียม

  15. ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 1.ดาวเทียมสื่อสารได้แก่ ดาวเทียมปาลาปาดาวเทียมไทยคมดาวเทียม TDRS ดาวเทียมอินมาร์แซตดาวเทียม ASTRA

  16. ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 2.ดาวเทียมสำรวจได้แก่ ดาวเทียมLANDSAT ดาวเทียมMETEOR  ดาวเทียม EXPLORER ดาวเทียม GMS ดาวเทียม NOVA 6-9 ดาวเทียม NOAA และTHEOS

  17. ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 3.ดาวเทียมยุทธวิธีเป็นดาวเทียมที่มีหลายรูปแบบ แล้วแต่ความต้องการทางด้าน กิจการทหาร

  18. ย่านความถี่ที่ใช้งานดาวเทียมย่านความถี่ที่ใช้งานดาวเทียม 1.สัญญาณเชื่อมโยงขาขึ้น (Up-link) 2.สัญญาณเชื่อมโยงขาลง(Down–link)

  19. ระบบส่งสัญญาณดาวเทียมระบบส่งสัญญาณดาวเทียม 1.ระบบ C-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 4–8 GHz 2.ระบบ KU-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 12-18 GHz 3.ระบบ KA-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 20-30 GHz

  20. ระบบสื่อสารดาวเทียม 2 ส่วน ตัวดาวเทียม สถานีภาคพื้นดิน

  21. ส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสารส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสาร 1.ระบบจ่ายกำลัง 2.ระบบควบคุมวงโคจรและท่าทีการโคจร 3.ระบบการวัดและการบังคับระยะไกล 4.ระบบสื่อสาร 5.ระบบสายอากาศ

  22. ส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสารส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสาร

  23. ส่วนประกอบสถานีภาคพื้นดินส่วนประกอบสถานีภาคพื้นดิน

  24. ประโยชน์การสื่อสารดาวเทียมประโยชน์การสื่อสารดาวเทียม

  25. Thank You !

More Related