1 / 41

การตัดสินใจ โดย ต้นทุนที่เกี่ยวข้อง

การตัดสินใจ โดย ต้นทุนที่เกี่ยวข้อง. ลักษณะการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ 1. การตัดสินใจระยะสั้น ใช้ Relevance Costs 2. การตัดสินใจระยะยาว ใช้ Capital Budgeting. ลักษณะของต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ ต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการตัดสินใจ

amity-ramos
Download Presentation

การตัดสินใจ โดย ต้นทุนที่เกี่ยวข้อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตัดสินใจโดยต้นทุนที่เกี่ยวข้องการตัดสินใจโดยต้นทุนที่เกี่ยวข้อง

  2. ลักษณะการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจลักษณะการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ 1. การตัดสินใจระยะสั้น ใช้ Relevance Costs 2. การตัดสินใจระยะยาว ใช้ Capital Budgeting

  3. ลักษณะของต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจลักษณะของต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ • ต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ • ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการตัดสินใจ • 1) ต้นทุนส่วนที่แตกต่าง • 2) ต้นทุนจม

  4. วิธีการวิเคราะห์ • แบ่งออกเป็น 2 วิธีใหญ่ คือ • 1. วิธีเปรียบเทียบโดยรวม • 2. วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนส่วนเพิ่ม โดยมีขั้นตอนคือ • - รวบรวมต้นทุนทั้งหมดเกี่ยวกับทางเลือกต่างๆ • ตัด ต้นทุนจม ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้อง ทิ้ง • วิเคราะห์เฉพาะส่วนที่แตกต่าง

  5. การตัดสินใจเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่การตัดสินใจเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่

  6. ข้อมูลที่ให้มา

  7. เครื่องจักรใหม่ทำให้ต้นทุนผันแปรลดลง 100,000 บาท

  8. ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรเก่าเป็นต้นทุนที่เกิดจากการตัดสินใจไปแล้วเมื่อในอดีตหรืออาจเรียกว่าเป็นต้นทุนจม ไม่มีผลต่อการตัดสินใจในปัจจุบัน จึงไม่นำมาคิด

  9. เครื่องจักรเก่ามีค่าซ่อมบำรุงที่สูงกว่าเครื่องจักรใหม่อยู่ 10,000 บาท

  10. รวมต้นทุนคงที่ทำให้มีค้นทุนสูงกว่าเครื่องจักรใหม่อยู่ 90,000 บาท

  11. ดังนั้น เราควรเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่เพราะเครื่องจักรใหม่ทำให้มีกำไรสุทธิจากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น 10,000 บาท

  12. การตัดสินใจ เกี่ยวกับ-คำสั่งพิเศษ

  13. คำสั่งพิเศษ หมายถึง คำสั่งให้ผลิตให้เป็นพิเศษ บริษัทไม่ได้คาดการณ์ไว้ก่อนล่วงหน้า ไม่ใช่คำสั่งจากลูกค้าปกติของบริษัท และลักษณะสำคัญอีกอย่างของคำสั่งพิเศษคือมักมีราคาต่ำกว่าราคาขายปกติของบริษัท การที่บริษัทจะรับผลิตตามคำสั่งพิเศษหรือไม่จะต้องพิจารณาหลายปัจจัยประกอบกันได้แก่ • บริษัทมีกำลังการผลิตว่างเปล่าเหลืออยู่สำหรับคำสั่งพิเศษ • คำสั่งพิเศษนั้นจะต้องไม่ทำลายยอดขายปกติของบริษัท เพราะคำสั่งพิเศษมักจะมีราคาต่ำกว่าราคาปกติ หากลูกค้าประจำของบริษัททราบก็จะทำให้เกิดความไม่พอใจจนถึงขั้นเลิกซื้อได้ • เมื่อคำสั่งพิเศษนั้นสามารถสร้างกำไรส่วนเพิ่มให้บริษัทได้หรือ • เมื่อบริษัทมีภาวะตึงเครียดทางการเงิน ต้องการเงินสดจากคำสั่งพิเศษมาใช้หมุนเวียนอย่างเร่งด่วน

  14. หากบริษัทมีเครื่องจักรสำหรับการผลิตชิ้นส่วนชนิดนี้มีกำลังการผลิตเต็มประสิทธิภาพ 100,000 ชิ้น/ปี แต่บริษัทใช้กำลังการผลิตจริงเพียง 90,000 ชิ้น ข้อมูลตามปกติ เมื่อต้นปีได้รับคำสั่งซื้อพิเศษเพิ่มอีก 10,000 ชิ้น ราคาชิ้นละ 1.5 บาท ซึ่งบริษัทเองก็มีกำลังการผลิตเหลืออยู่ จึงควรนำไปพิจารณาว่า

  15. จากเดิม 90,000 ชิ้น ขายชิ้นละ 3 บาท เมื่อมียอดขายเพิ่มอีก 10,000 ชิ้น ชิ้นละ 1.5 บาท

  16. ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 1 บาท ทำให้คำสั่งพิเศษที่มีจำนวนการสั่งซื้อที่มากกว่ามีต้นทุนผันแปรมากกว่าไปด้วย

  17. อย่างไรก็ตาม จำนวนสั่งซื้อที่มากกว่าก็ทำให้กำไรส่วนเกินมากกว่าอยู่

  18. ต้นทุนที่ไม่มีความแตกต่าง ไม่ผลต่อการตัดสินใจ

  19. การตัดสินใจเกี่ยวกับ ผลิตเองหรือ ซื้อจากภายนอก

  20. ผู้เสนอขายจากภายนอก ราคาชิ้นละ 845

  21. ผลิตเองต้นทุนต่ำกว่า 2,100,000 บาท ตัดสินใจผลิตเอง

  22. ซื้อต้นทุนต่ำกว่า 29,400,000 บาท ตัดสินใจซื้อ

  23. ข้อดีของซื้อจากภายนอกข้อดีของซื้อจากภายนอก 1. เป็นอิสระจาก Supplier 2. แน่ใจได้ว่าจะมีชิ้นส่วนเพื่อใช้อย่างสม่ำเสมอ 3. ไม่ต้องภาระต้นทุนเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 4. ไม่มีต้นทุนวิจัยและพัฒนา 5. การใช้ชิ้นส่วนบางชนิดที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับจากผู้บริโภคจะทำให้ขายสินค้าได้ดี 6. ไม่ต้องรับภาระในการดูแลสินค้าคงคลังจำนวนมาก

  24. ข้อเสียการซื้อจากบุคคลภายนอกข้อเสียการซื้อจากบุคคลภายนอก 1. ไม่ค่อยแน่ใจเรื่องคุณภาพได้ตามต้องการ 2. ไม่สามารถพัฒนาเป็นผู้ผลิตและจำหน่าย ชิ้นส่วน 3. ไม่สามารถรักษาความลับของผลิตภัณฑ์

  25. การตัดสินใจ จำหน่ายหรือผลิตต่อ

  26. ผลิตต่อ ต้นทุนผลิตต่อ ผลิตต่อ ต้นทุนผลิตต่อ ผลิตต่อ ต้นทุนผลิตต่อ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์-ก ต้นทุนร่วม ผลิตภัณฑ์-ข ผลิตภัณฑ์-... จุดแยกออก

  27. หลักการวิเคราะห์ขายหรือผลิตต่อหลักการวิเคราะห์ขายหรือผลิตต่อ ต้นทุนร่วมเป็นต้นทุนจม ซึ่งไม่ว่ากิจการจะตัดสินใจอย่างไร ต้นทุนจำนวนนี้ก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ จึงไม่จำเป็นที่จะต้องนำมาทำการวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจ

  28. การตัดสินใจเกี่ยวกับ การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัด

  29. ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกผลิตสินค้าให้บริษัทมีกำไรรวมสูงสุดปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกผลิตสินค้าให้บริษัทมีกำไรรวมสูงสุด - กำไรส่วนเกินต่อหน่วยของสินค้า - การใช้ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดของสินค้า - พิจารณาเลือกผลิตสินค้าที่เมื่อพิจารณาทางด้านปัจจัยการผลิตแล้วให้กำไรสูงสุด

  30. การยกเลิกสายผลิตภัณฑ์หรือส่วนงานการยกเลิกสายผลิตภัณฑ์หรือส่วนงาน พิจารณาเกี่ยวกับ • ผลิตภัณฑ์มีความสามารถสร้างกำไรได้ในระดับใด • ผลิตภัณฑ์มีราคาขายที่เหมาะสมหรือไม่ • มีวิธีการส่งเสริมการขายหรือโฆษณาที่มีประสิทธิภาพใช้ได้หรือไม่ • หากยกเลิกสายผลิตภัณฑ์บางชนิดจะทำให้โดยรวมแล้วกำไรทั้งบริษัทลดลงหรือไม่ หากลดลงก็ไม่ควรยกเลิกสายผลิตภัณฑ์ • หากยกเลิกสายผลิตภัณฑ์บางชนิดออก ผลิตภัณฑ์ที่เหลืออยู่จะสามารถรับภาระต้นทุนและค่าใช้จ่ายได้ทั้งหมดหรือไม่

  31. วิธีการวิเคราะห์หรือยกเลิกสายผลิตภัณฑ์ - ในเชิงปริมาณ วิเคราะห์ถึงผลกระทบรวมเมื่อยกเลิกสายผลิตภัณฑ์นั้นไปโดยเฉพาะต้นทุนคงที่ส่วนที่ไม่สามารถยกเลิกได้

More Related