1 / 19

Internal Control and Internal Audit

Internal Control and Internal Audit. . กระบวนการตรวจสอบภายใน. การวางแผนการตรวจสอบภายใน. . การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน. . การรายงานและการติดตามผล. . Q&A. . กระบวนการตรวจสอบภายใน Internal Audit Process. Risk – Based Approach. I. การวางแผนงานตรวจสอบ - Planning

alvin-riley
Download Presentation

Internal Control and Internal Audit

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Internal Control and Internal Audit  กระบวนการตรวจสอบภายใน การวางแผนการตรวจสอบภายใน  การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน  การรายงานและการติดตามผล  Q&A 

  2. กระบวนการตรวจสอบภายในInternal Audit Process Risk – Based Approach I. การวางแผนงานตรวจสอบ - Planning II. การปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม - Executing • การรายงานและติดตามผลการตรวจสอบ – Reporting & Follow Up

  3. Audit Plan • ประชุมกับผู้บริหาร • สำรวจ / ศึกษา / หาข้อมูล • ประเมินความเสี่ยงและการควบคุมภายใน – Risk-Based Approach • จัดทำแผนการตรวจสอบเพื่อให้ผู้บริหารอนุมัติ • มอบหมายงานไปยังหัวหน้าผู้ตรวจสอบเพื่อจัดทำแผนปฏิ บัติงานการตรวจสอบต่อไป I. การวางแผนงาน AuditProgram Audit Findings II. การปฏิบัติงาน • จัดทำกระดาษทำการ • ใช้เทคนิคการตรวจสอบ • รวบรวมหลักฐานเอกสาร • สรุปผลการตรวจสอบ Audit Working Paper • เสนอผลการตรวจสอบกับผู้รับการตรวจ เพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับการตรวจเห็นด้วยกับ Fact Finding, Risk Identified, Action Plan Internal Audit Report III. การรายงานและติดตามผล

  4. มาตรฐานฯ ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนการตรวจสอบ 2010 – การวางแผน • หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบ ควรจัดทำแผนงานตรวจสอบตามความเสี่ยง (Risk-based Plan) เพื่อกำหนดความสำคัญของแต่ละกิจกรรมที่จะตรวจสอบให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร 2010.A1 – แผนภารกิจของกิจกรรมการตรวจสอบภายใน ควรจัดทำอย่างน้อยปีละครั้ง โดยใช้ข้อมูลจากการประเมินความเสี่ยง และควรนำข้อมูลข่าวสารจากผู้บริหารระดับสูงและคณะ กรรมการขององค์กรมาใช้ประกอบการพิจารณาในการทำแผนด้วย 2020 – การนำเสนอและอนุมัติแผนงานตรวจสอบ • หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบ ควรนำเสนอแผนงานตรวจสอบและทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนแผนระหว่างกาล ที่มีนัยสำคัญ ต่อผู้บริหารระดับสูงและคณะกรรมการขององค์กรเพื่อสอบทานและอนุมัติ ในกรณีที่มีข้อจำกัดเกี่ยวกับทรัพยากร หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบ ควรแจ้งถึงผลกระทบที่จะมีต่อแผนงานด้วย

  5. มาตรฐานฯ ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนการตรวจสอบ 2200 – การวางแผนภารกิจ ผู้ตรวจสอบภายในควรจัดทำและบันทึกแผนของแต่ละภารกิจที่รับผิดชอบ โดยแสดงถึงขอบเขต วัตถุประสงค์ เวลา และการใช้ทรัพยากร เพื่อภารกิจนั้นๆ 2201 – ข้อพิจารณาในการวางแผน การวางแผนภารกิจ ผู้ตรวจสอบควรคำนึงถึง • วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่จะสอบทานและวิธีการที่จะใช้ในการควบคุมผลการดำเนินงานของกิจกรรมนั้น • ความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญของกิจกรรม วัตถุประสงค์ ทรัพยากร และการดำเนินงาน ตลอดจนวิธีการที่จะใช้ในการจัดการกับผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ • ความเพียงพอ และความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมของกิจกรรมนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับกรอบปฏิบัติหรือแบบจำลองการควบคุม (Control framework and model) ที่เกี่ยวข้อง • โอกาสที่จะปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมสำหรับกิจกรรมนั้น อย่างมีนัยสำคัญ

  6. I. การวางแผนการตรวจสอบ • จัดทำแผนการตรวจสอบประจำปี / ระยะยาว • ประชุมกับผู้บริหารระดับสูง • สอบถาม และสำรวจขั้นต้น • ประเมินความเสี่ยงและทบทวนการควบคุมภายใน • สอบทาน Business Plan • จัดทำแผนการตรวจสอบเพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงอนุมัติ • ตัวอย่าง แผนการตรวจสอบ

  7. I. การวางแผนการตรวจสอบ 2. ทำการสื่อสารกับผู้บริหารของหน่วยงานที่จะถูกตรวจสอบ – ควรทำการนัดหมายล่วงหน้าเพื่อการพูดคุยในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ • แผนการตรวจสอบภายในที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน • วัตถุประสงค์และขอบเขตการปฏิบัติงานการตรวจสอบ • ขั้นตอนการทำงานและระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจสอบ • สอบถามนโยบาย แผนงาน และเป้าหมายของหน่วยงาน • กำหนดบุคคลที่จะมาเป็นผู้ประสานงานกับผู้สอบ (Key Contact Person) 3. ศึกษาทำความเข้าใจหน่วยงานที่จะเข้าตรวจสอบ • เป้าหมายของการตรวจสอบ ขอบเขตของการตรวจสอบ • ข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับหน่วยงานที่ถูกตรวจสอบ • ลักษณะของหน่วยงาน – โครงสร้าง, การควบคุมภายใน • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง • มาตรฐานการปฏิบัติงานหรือคู่มือที่มี

  8. I. การวางแผนการตรวจสอบ 4. ประเมินความเสี่ยงและการสอบทานการควบคุมภายใน • ทำโดยการสอบถามกระบวนการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง • บันทึก Business Process Flow และรายละเอียดทางเดินเอกสารที่เกี่ยวข้อง • ชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อนและจุดแข็งของการควบคุมภายใน – Risk-Based Approach 5. จัดทำแผนปฏิบัติการตรวจสอบภายใน (Internal Audit Program) • ระบุกระบวนการ (Business Process) และกิจกรรม (Activities) ที่จะตรวจสอบ • กำหนดรายละเอียดวัตถุประสงค์การตรวจสอบ (Audit Objectives) • Identify potential risks and control activities which the company should have. • ตัวอย่างแผนปฏิบัติการตรวจสอบ

  9. มาตรฐานฯ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม 2300 – การปฏิบัติภารกิจ • ผู้ตรวจสอบควรระบุ วิเคราะห์ ประเมิน และบันทึก ข้อมูลให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 2310 – การระบุข้อมูล • เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ผู้ตรวจสอบควรระบุและรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติภารกิจให้เพียงพอ น่าเชื่อถือ มีความเกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงาน 2320 – การวิเคราะห์และประเมินผล • ข้อสรุปและผลการปฏิบัติภารกิจของผู้ตรวจสอบ ควรอยู่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์และการประเมินผล ที่เหมาะสม 2330 – การบันทึกข้อมูล • ผู้ตรวจสอบภายใน ควรบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนข้อสรุปและผลการปฏิบัติภารกิจ

  10. II. การปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม Risk – Based Approach ตัวอย่าง GM Audit Control Worksheet Key Activities : • การวางแผนก่อนเริ่มงานตรวจสอบ • การตรวจสอบและจัดทำกระดาษทำการ • เทคนิคและหลักฐานการตรวจสอบ • การปฏิบัติงานเมื่อเสร็จสิ้นงานตรวจสอบ

  11. การจัดทำกระดาษทำการ • ไม่มีการกำหนดรูปแบบอย่างเป็นมาตรฐาน • ควรจัดจำอย่างมีแบบแผน และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยยึดหลักประโยชน์ใช้สอย • บันทึกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ที่ได้จากการตรวจสอบ • เน้นจุดสำคัญให้เด่นชัด • รูปแบบกระดาษทำการควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ ตัวอย่างกระดาษทำการ ดูหน้า 11-9 to 11-17

  12. หลักการจัดทำกระดาษทำการหลักการจัดทำกระดาษทำการ • ข้อแนะนำ • ควรจัดทำกระดาษทำการทันที • ควรบันทึกข้อมูลเหล่านี้ลงในกระดาษทำการ • ชื่อผู้สอบทานและวันที่สอบทาน • มีคำอธิบาย เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Tickmark) ที่ • ใช้ในการตรวจสอบ • มีการระบุสิ่งที่ตรวจพบ ความเสี่ยงและผลกระทบที่ • เกี่ยวข้อง • มีการจัดเก็บกระดาษทำการเข้าแฟ้มอย่างเป็นระเบียบ • ชื่อหน่วยงาน / โครงการที่ตรวจ • ชื่อกระดาษทำการและงวดเวลาที่ตรวจ • วัตถุประสงค์ของการตรวจ • รหัสดัชนีกระดาษทำการ (Index) • แหล่งที่มาของข้อมูล • ชื่อผู้จัดทำและวันที่จัดทำ 1. ความถูกต้องสมบูรณ์ (Accuracy and Completeness) 2. ความประณีต (Neatness) 3. ความชัดเจนเข้าใจง่าย (Clarity and Understandability) 4. ความสัมพันธ์กันหรือความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance)

  13. หลักฐานการตรวจสอบ • เป็นข้อเท็จจริงที่ผู้ตรวจสอบภายในรวบรวมขึ้นมา เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นเกี่ยวกับข้อสรุปและข้อเสนอแนะจากผลการตรวจสอบ • มีความเพียงพอ - หลักฐานแสดงถึงข้อเท็จจริงที่มีปริมาณเพียงพอ และสามารถจูงใจให้บุคคลที่สุขุมรอบคอบให้ความเห็นเช่นเดียวกัน • เชื่อถือได้ – หลักฐานที่ได้มาจากแหล่งที่มาที่เชื่อถือได้ โดยใช้เทคนิคตรวจสอบและวิธีการที่ได้มาซึ่งหลักฐานเหมาะสม • มีความเกี่ยวพันและมีประโยชน์ – สนับสนุนข้อเสนอแนะในการตรวจสอบ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ หลักฐานต้องเป็นปัจจุบัน และมีสาระสำคัญในการสรุป Note ดูตารางในหนังสือ หน้า 9-8

  14. เทคนิคการตรวจสอบ • การตรวจสอบการผ่านรายการ • การหารายการผิดปรกติ • การตรวจทาน • การวิเคราะห์ • การสืบสวน • การประเมินผล • การสังเกตการณ์ • การตรวจนับ • การตรวจสอบเอกสาร • การยืนยัน • การสอบถาม • การคำนวณ • การวิเคราะห์เปรียบเทียบ

  15. มาตรฐานฯ ที่เกี่ยวข้องกับการรายงานและการติดตามผลการตรวจสอบภายใน 2400 – การรายงานผล การปฏิบัติภารกิจ • ผู้ตรวจสอบควรรายงานผลการปฏิบัติภารกิจโดยไม่ชักช้า 2410 – เกณฑ์ของการายงานผลการปฏิบัติภารกิจ • การรายงานผลการปฏิบัติภารกิจ ควรรวมถึงวัตถุประสงค์และขอบเขตของภารกิจ ตลอดจนข้อสรุป ข้อเสนอแนะ และแผนเพื่อนำไปปฏิบัติ 2410.A1 – ในรายงานสรุปผลการปฏิบัติภารกิจ ผู้ตรวจสอบควรมีความเห็นและ/หรือข้อสรุปในภาพรวม ตามความเหมาะสม 2410.A2 – ในรายงานสรุปผลการปฏิบัติภารกิจ ผู้ตรวจสอบควรรายงานผลงานที่เป็นที่น่าพอใจของผู้รับการตรวจด้วย 2410.A3 – เมื่อมีการเผยแพร่ผลการตรวจสอบต่อบุคคลภายนอกองค์กร ควรระบุข้อจำกัดในการเผยแพร่และการนำผลการตรวจสอบไปใช้ต่อ

  16. มาตรฐานฯ ที่เกี่ยวข้องกับการรายงานและการติดตามผลการตรวจสอบภายใน 2410.C1 – การรายงานความคืบหน้าและผลของงานให้คำปรึกษา อาจมีรูปแบบและสาระแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของแต่ละงานและความต้องการของผู้รับคำปรึกษา 2420 – คุณภาพของการรายงาน การรายงานผลการปฏิบัติภารกิจควรมีความ ถูกต้อง เที่ยงธรรม ชัดเจน รัดกุม สร้างสรรค์ ครบถ้วน และทันกาล 2440.C1 – หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบเป็นผู้รับผิดชอบในการเสนอรายงานสรุปผลการให้บริการให้คำปรึกษาต่อผู้รับบริการ 2500 – การติดตามผลการตรวจสอบ หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบ ควรสร้างและรักษาไว้ซึ่งระบบการติดตามการไม่ปฏิบัติตามผลการตรวจสอบที่ได้รายงานต่อฝ่ายจัดการแล้ว 2500.A1 – หัวหน้าผู้บริหารงานตรวจสอบ ควรจัดให้มีกระบวนการติดตามผลการตรวจสอบ เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนั้น ฝ่ายจัดการได้นำไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล หรือผู้บริหารระดับสูงได้ยอมรับความเสี่ยงจากการไม่ปฏิบัติตาม

  17. III. การรายงานและติดตามผล ขั้นตอน • ระหว่างการตรวจสอบพบ Audit Findings – พูดคุยกับ Process Owner • รายงาน Work Progress แก่ผู้บริหารเป็นระยะ (ทุกสัปดาห์) • หลังจาก Process Owner agrees with Findings – ออก Audit Finding Letter for signing off • รวบรวม Audit Findings to issue the audit report ตัวอย่าง : Example of Audit Report and Finding Letter

  18. Audit Finding No. # วันที่ : __________________ เสนอ: ____________________ จาก: __________________ เรื่อง:________________ ข้อเท็จจริงที่ตรวจพบและสาเหตุ : ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น : ข้อเสนอแนะ : เห็นด้วยโดย ______________________________ ระบุชื่อและตำแหน่ง แนวทางแก้ไข _____________________________ ระบุผู้รับผิดชอบและวันที่คาดว่าจะแก้ไขเสร็จเพื่อการติดตาม

  19. Assignment • จัดกลุ่ม ๆ ละ 4 คน • จับฉลากเลือกหัวข้องานการตรวจสอบภายในในกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1. การจัดซื้อ 8. การรับชำระเงินสด 2. การขาย / รายได้ 9. การรับชำระจากลูกหนี้ 3. การจ่ายชำระเงินเจ้าหนี้การค้า 10. การบริหารสินทรัพย์ถาวร 4. การจ่ายชำระเงินเดือนและประโยชน์อื่น 11. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาด 5. การรับจ่ายสินค้าสำเร็จรูป 12. การบริการหลังการขาย 6. การรับและเบิกวัตถุดิบ 13. Logistics 7. การบริหารการผลิต 14. การจัดทำบัญชี • วางแผนการตรวจสอบ – จัดทำ Audit Program • ประเมินความเสี่ยง และการควบคุมภายใน – เขียน Flow และรายละเอียด Actual Practice • จัดทำกระดาษทำการให้เหมาะสม • สรุป Audit Finding และจัดทำ Audit Report

More Related