1 / 19

บทที่ 10 การบริหารความสามารถและอุปสงค์

บทที่ 10 การบริหารความสามารถและอุปสงค์. ความหมาย. การปฏิบัติการบริหารการบริการ ( managing service operations ) เป็นความพยายามที่จะนำกลยุทธ์มาใช้บริหารความต้องการรับบริการของลูกค้าให้มีความสมดุลกับความสามารถในการให้บริการของบริษัท. การปฏิบัติการบริหาร การบริการ.

allie
Download Presentation

บทที่ 10 การบริหารความสามารถและอุปสงค์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 10การบริหารความสามารถและอุปสงค์

  2. ความหมาย การปฏิบัติการบริหารการบริการ (managing service operations) เป็นความพยายามที่จะนำกลยุทธ์มาใช้บริหารความต้องการรับบริการของลูกค้าให้มีความสมดุลกับความสามารถในการให้บริการของบริษัท

  3. การปฏิบัติการบริหารการบริการการปฏิบัติการบริหารการบริการ กลยุทธ์ปรับความสามารถและอุสงค์ สมดุลกับอุปสงค์ การสับเปลี่ยนอุปสงค์ การปรับความสามารถ การบริหารเพื่อให้เกิดรายได้ ขั้นตอนการปฏิบัติการบริหารการบริการ

  4. แบบแผนของอุปสงค์ (demand patterns) อุปสงค์การบริการมีลักษณะไม่คงที่ขึ้นๆ ลงๆ ตลอดเวลาผู้ให้บริการจึงต้องเข้าใจแบบแผนของอุปสงค์ว่าทำไมจึงมีการเปลี่ยนแปลง

  5. ข้อจำกัดของความสามารถการให้บริการ (rapacity constraints) กิจการที่ให้บริการบางอย่างมีความสามารถคงที่ตายตัว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้มากนัก

  6. ข้อจำกัดด้านความสามารถของการให้บริการข้อจำกัดด้านความสามารถของการให้บริการ 1. เวลา 2. แรงงาน 3. เครื่องมือ 4. การบริการที่อำนวยความสะดวก

  7. กลยุทธ์ปรับความสามารถกับอุปสงค์กลยุทธ์ปรับความสามารถกับอุปสงค์ 1.การสับเปลี่ยนอุปสงค์ให้สมดุลกับความสามารถ (Shifting demand to match capacity) 2. การปรับความสามารถให้สมดุลกับอุปสงค์ (Adjust capacity to meet demand)

  8. การสับเปลี่ยนอุปสงค์ให้สมดุลกับความสามารถการสับเปลี่ยนอุปสงค์ให้สมดุลกับความสามารถ 1. อุปสงค์ในช่วงเวลาที่มีอุปสงค์อยู่ใน ระดับสูงสุด (Reduce demand during peak times) 2. การเพิ่มอุปสงค์ให้สมดุลกับ ความสามารถ (Increase demand to mach capacity)

  9. ลดอุปสงค์ในช่วงเวลาที่มีอุปสงค์อยู่ในระดับสูงสุดลดอุปสงค์ในช่วงเวลาที่มีอุปสงค์อยู่ในระดับสูงสุด 1. สื่อสารกับลูกค้าเพื่อให้ทราบว่า เวลาใดที่มีผู้ใช้บริการจำนวนมาก 2. ปรับเวลาและสถานที่ส่งมอบการบริการ 3. มอบสิ่งจูงใจดึงดูดให้ลูกค้ารับบริการในช่วงเวลาที่มีผู้ใช้บริการน้อย 4. จัดลำดับความสำคัญ 5. เสียค่าบริการเต็มราคา

  10. การเพิ่มอุปสงค์ให้สมดุลกับความสามารถการเพิ่มอุปสงค์ให้สมดุลกับความสามารถ 1. โฆษณากระตุ้นให้เกิดอุปสงค์ 2. บริการอำนวยความสะดวกในลักษณะที่แตกต่าง 3. กำหนดราคาที่แตกต่าง

  11. การปรับความสามารถให้สมดุลกับอุปสงค์การปรับความสามารถให้สมดุลกับอุปสงค์ 1. ปรับความสามารถในช่วงเวลาที่อุปสงค์อยู่ในระดับสูง 2. ปรับความสามารถในช่วงเวลาที่อุปสงค์อยู่ในระดับต่ำ

  12. การปรับความสามารถในช่วงเวลาที่อุปสงค์อยู่ในระดับสูงการปรับความสามารถในช่วงเวลาที่อุปสงค์อยู่ในระดับสูง 1. เพิ่มเวลาให้บริการ 2. เพิ่มชั่วโมงทำงานของพนักงาน 3. เพิ่มการอำนวยความสะดวกชั่วคราว 4. เพิ่มเครื่องมือการให้บริการ 5. ฝึกอบรมพนักงาน 6. ใช้บริการจากแหล่งภายนอก 7. เพิ่มการมีส่วนร่วมของลูกค้า

  13. ปรับความสามารถในช่วงที่อุปสงค์อยู่ในระดับต่ำปรับความสามารถในช่วงที่อุปสงค์อยู่ในระดับต่ำ 1. จัดทำตารางเวลาการทำงานในช่วงที่มีอุปสงค์น้อย 2. จัดทำตารางพักผ่อนของพนักงาน 3. จัดตารางการฝึกอบรมพนักงาน 4. การเลิกจ้างพนักงาน

  14. การบริหารแบบ Yield management เพื่อให้ได้ผลตอบแทนดีที่สุดภายใต้ข้อจำกัดด้านความสามารถเท่าที่มีอยู่ แต่สามารถให้บริการได้อย่างหลากหลายในส่วนตลาดที่แตกต่างกัน

  15. การบริหารสายการรอคอย (managing waiting lines) 1. ใช้ระบบเข้าคิว 2. ใช้จิตวิทยาสำหรับการรอคอย 3. ใช้ระบบการจองล่วงหน้า 4. ให้บริการที่แตกต่างกัน

  16. กลยุทธ์น่านน้ำสีครามสำหรับการบริการกลยุทธ์น่านน้ำสีครามสำหรับการบริการ กลยุทธ์น่านน้ำสีคราม (blue ocean strategy) สำหรับการบริการ เป็นแนวคิดของ W. Chan Him และ Renee Mauborgne มีหลักการสำคัญ คือ นวัตกรรมเชิงคุณค่า (value innovation) ที่มิได้มุ่งที่การแข่งขันแต่กลับหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้วยการสร้างอุปสงค์ใหม่จากตลาดกลุ่มที่ไม่เคยเป็นลูกค้า โดยพยายามคิดนอกกรอบและสร้างสรรค์นวัตกรรมเชิงคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ

  17. กลยุทธ์น่านน้ำสีครามสำหรับการบริการ อาทิ 1. Net Jets 2. บริษัท Curves 3. NABI 4. QB House 5. Apple

  18. กลุ่มที่ยังมิได้เป็นลูกค้ากลุ่มที่ยังมิได้เป็นลูกค้า 1. กลุ่มที่ไม่ได้เป็นลูกค้าชั้นที่หนึ่ง (First-Tier non customers) 2. กลุ่มที่ไม่ได้เป็นลูกค้าชั้นที่สอง (Second –tier non customers) 3. กลุ่มที่ไม่ได้เป็นลูกค้าชั้นที่สาม (Third-tier non customers)

  19. ขอบคุณค่ะ

More Related