1 / 24

# 2

ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. การ Try Out แบบสอบถาม และการคัดเลือกคำถามการวิจัย. # 2 . ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

allayna
Download Presentation

# 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การ Try Out แบบสอบถามและการคัดเลือกคำถามการวิจัย # 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

  2. การคัดเลือกแบบสอบถามเพื่อการวิจัยการคัดเลือกแบบสอบถามเพื่อการวิจัย • 1. ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) • 2. ความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) • 3. ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) • 4. ความตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity)

  3. Content Validity • เครื่องมือ/แบบสอบถามที่สร้างขึ้น ให้ตรงตามโครงสร้างนั้น มีความสอดคล้อง ระหว่างเนื้อหาสาระของเครื่องมือ ที่สร้างขึ้นกับเนื้อหาสาระของสิ่งที่ต้องการวิจัย/ วัตถุประสงค์การวิจัย โดยแบบสอบถามที่ สร้างขึ้นมานั้น ต้องครอบคลุมกรอบของเนื้อหา (ตรงตามวัตถุประสงค์กรอบแนวคิด/นิยามศัพท์)

  4. Construct Validity • การเครื่องมือ/แบบสอบถามที่สร้างขึ้นนั้น สามารถวัด • คุณลักษณะ/ขอบเขตตามโครงสร้างของเรื่องที่ทำการวิจัยได้หรือไม่ โดยมีขั้นตอนดำเนินการสร้างเครื่องมือวิจัย ดังนี้ • 1. ผู้วิจัยพิจารณาจากวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดการวิจัย เป็นหลัก • 2. การพิจารณาแนวคิด/ทฤษฎีและนิยามศัพท์เฉพาะแนวทางฯ • 3. การพิจารณาจากแบบสอบถามของผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วย • 4. การพิจารณาจากจำนวนประชากรหรือขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ฯ • 5. การพิจารณาสถิติที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล/ตัวอย่างฯ • ซึ่งทั้ง 5 ข้อจะต้องพิจารณาไปพร้อม ๆ กันด้วย

  5. การตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ • การตรวจสอบโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง อย่างน้อย 3 ท่าน ตรวจสอบว่า มีความครอบคลุมเนื้อหาสาระ? โดยสามารถใช้แบบตรวจสอบเพื่อทดสอบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันหรือไม่ (IOC : Index Objective Congruence) • IOC หรือ ดัชนีความเห็นสอดคล้องของผู้เชี่ยวชาญ ถ้าค่า > 0.5 ถือว่าข้อคำถามนั้นสามารถนำไปใช้ได้

  6. การตรวจสอบคำถามตามวัตถุประสงค์วิจัยการตรวจสอบคำถามตามวัตถุประสงค์วิจัย

  7. การจัดทำแบบสอบถาม

  8. แบบสอบถาม

  9. แบบสำรวจ หน้า 1- 2

  10. แบบสำรวจหน้า 3 กรอบความคิดของการวิจัย • ตัวแปรต้น • คณะ/สาขา/เพศ/ ... • ตัวแปรตาม • ด้าน 1 • ด้าน 2 • ด้าน 3 • ด้าน 4 • ด้าน 5

  11. การวิเคราะห์ IOC ผิดพลาดนิดหน่อย

  12. การคัดเลือกคำถามการวิจัยการคัดเลือกคำถามการวิจัย • ท่านอายุ .............. ปี • อายุระหว่าง • 20 – 30 ปี • 31 – 40 ปี • 41 – 50 ปี • สูงกว่า 50 ปี • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยและตัวแปรการวิจัย ควรจะเลือกลักษณะคำถามแบบใด ???

  13. ข้อความ หรือภาษาที่ใช้ในข้อความต้องชัดเจน • หน่วยงานของท่านสัมผัสได้ถึงปัญหาความอ่อนไหวทางอารมย์ของผู้ปฏิบัติงาน • ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของท่านมีปัญหาด้านอารมย์

  14. ข้อคำถามไม่ควรมากเกินไปข้อคำถามไม่ควรมากเกินไป • แบบสอบถามชุดนี้มีจำนวน 5 ตอน 12 หน้า 120 ข้อ โปรดทำทุกหน้าและตรวจสอบว่าได้ทำครบถ้วนหรือไม่ คำถามของท่านจะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงาน

  15. ไม่ถามเรื่องที่เป็นความลับไม่ถามเรื่องที่เป็นความลับ • ผู้บังคับบัญชาของท่านเคยให้ท่านเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงเกินจำนวนที่ควรได้รับ • เพื่อนร่วมงานของท่านเคยมีปัญหาทางด้านชู้สาวกับเพื่อนร่วมงานด้วยกัน • ท่านเคยพบว่าหน่วยงานมีการปิดบังซ่อนเร้น อำพรางเอกสารสำคัญบางอย่าง

  16. ไม่ควรใช้ข้อความที่มีความหมายกำกวมไม่ควรใช้ข้อความที่มีความหมายกำกวม • หน่วยงานอาจจะหรือไม่แน่ว่าจะปรับโครงสร้างองค์กรเร็ว ๆ นี้ • ท่านคิดว่าไอคิวเด็กไทยต่ำลงไม่จริงเสมอไปที่ขาดอะไรบางอย่าง

  17. ไม่ถามในเรื่องที่รู้แล้วไม่ถามในเรื่องที่รู้แล้ว • ท่านเห็นว่าควรมีการขึ้นเงินเดือนโดยเร็วที่สุด • ท่านทราบดีว่าการสูบบุหรี่เป็นบ่อเกิดของโรคร้ายแรงต่าง ๆ

  18. คำถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างคำถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง • กรณีกลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 • นักเรียนเห็นว่าควรให้มีการทำแท้งเสรีหรือไม่ • นักเรียนคิดว่าความขัดแย้งทางโครงสร้างสังคมเกิดจากปัญหาทางการเมืองเป็นส่วนใหญ่

  19. คำถามควรถามเพียงประเด็นเดียวคำถามควรถามเพียงประเด็นเดียว • ท่านคิดว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนประกอบด้วยครู ผู้ปกครอง เพื่อนและสภาพแวดล้อมในชุมชน • ครูเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน • ผู้ปกครองเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน • เพื่อนเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน • สิ่งแวดล้อมในชุมชนเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน

  20. คำถามมีทิศทางเดียวกันคำถามมีทิศทางเดียวกัน • สถานที่มีความเหมาะสม • อากาศถ่ายเทได้สะดวก • อุปกรณ์มีความพร้อมใช้งาน • อาหารมีรสชาติแย่ • บริการมีความเป็นกันเอง • พื้นห้องรักษาความสะอาดดี

  21. คำถามต้องตรงกับการแปลผลคำถามต้องตรงกับการแปลผล • ผู้อำนวยการมีพรหมวิหารสี่ในการทำงาน • การแปลผล • เห็นด้วยมากที่สุด • เห็นด้วยมาก • เห็นด้วยปานกลาง • เห็นด้วยน้อย • เห็นด้วยน้อยที่สุด

  22. มาตราวัดเหมาะสม

  23. บทสรุป • การทดสอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัย • แบบสอบถาม • แบบทดสอบ • การคัดเลือกแบบสอบถาม • การคัดเลือกโดยผู้เชี่ยวชาญ • การคัดเลือกโดยการทดสอบ • การใช้วิจารณญาณของผู้วิจัย

  24. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คำถาม ????! ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข081-7037515 prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com Thank You !

More Related