1 / 10

กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546)

กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546). ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพารา และรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรงราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร , องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม ( เกษตร ), สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ

Download Presentation

กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546) ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพาราและรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรงราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร), สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคมยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ –กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้าต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ ด้านการบริหารงานภาคยาง - ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย (กระทรวงเกษตรฯตั้งคณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไปตามยุทธศาตร์ครบวงจร) - ตั้งองค์การยาง( กระทรวงเกษตรฯตั้งองค์การยางโดยรวมอสย.และสกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง - สนับสนุนร่วมมือกับอก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ – อก. -ตั้งกองทุนพัฒนายางและผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง

  2. กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การกรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การ พัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546)

  3. ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพาราและรักษาเสถียรภาพราคายาง- แทรกแทรงราคายางผู้รับผิดชอบ-กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร),สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออกผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคมยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย

  4. ด้านตลาดยาง 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ –กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้าต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ

  5. ด้านการบริหารงานภาคยางด้านการบริหารงานภาคยาง • ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย(กระทรวงเกษตรฯตั้งคณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไปตามยุทธศาตร์ครบวงจร) • ตั้งองค์การยาง( กระทรวงเกษตรฯตั้งองค์การยางโดยรวมอสย.และสกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกรผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง

  6. ด้านการบริหารงานภาคยางด้านการบริหารงานภาคยาง • สนับสนุนร่วมมือกับอก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง • ผู้รับผิดชอบ – อก • ตั้งกองทุนพัฒนายางและผลิตภัณฑ์ยางผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง

  7. 1. แผนงานเร่งด่วนดำเนินการภายในปี 2543 - โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์ยางระยะเวลา 2 ปีเพื่อทดสอบตามมาตรฐาน EU และสหรัฐอเมริกา(กรมวิชาการเกษตรและสภอท.) 2. แผนการวิจัยและการพัฒนาระดับชาติ - โครงการพัฒนาการผลิตถุงมือยางโปรตีนต่ำระยะเวลา 3 ปี (กรมวิชาการเกษตรกับ กระทรวงวิทย์ฯอก. และสภอท.) - โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตและคุณภาพยางแท่งระยะเวลา 3 ปี ( กรมวิชาการเกษตรกับกรม ส่งเสริมสหกรณ์, สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง, ทบวงมหาวิทยาลัย,สมาคมยางพาราไทย และสถาบันเกษตร) 3. แผนการสนับสนุน - โครงการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรมยางระยะเวลา 3 ปี (กระทรวงวิทย์ฯ) - โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมยางที่องค์กรสวนยางจ.นครศรีธรรมราชระยะเวลา 5 ปี (องค์การ สวนยาง,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และนิคมอุตสาหกรรมฯ) 4.แผนการสนับสนุนการใช้ยางของภาครัฐระยะเวลา 3 ปี( สมอ.,กรมวิชาการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาอุตสาหกรรมฯ) ปี 2544-2546 งบประมาณ 20 ล้านบาทแหล่งเงินแผนปรับโครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ยางที่ผลิตได้ในประเทศเช่นยางธรรมชาติผสมยางมะตอยลาดถนน, ยางรองคอสะพาน, ยางกันชนหรือยางกันกระแทกเขื่อน/ฝาย, ยางกันซึม ,แผ่นยางปูอ่างเก็บน้ำ, รอยต่อสะพาน, ยางคั่นรอยต่อคอนกรีต, ลู่วิ่ง ,ยางปูพื้น,พรมยางปูพื้น,และถุงมือยาง แผนงานเร่งด่วนของกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรม

  8. แผนงานเร่งด่วนของกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมแผนงานเร่งด่วนของกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรม

  9. 1. แผนงานเร่งด่วนดำเนินการภายในปี2543 -โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์ยางระยะเวลา 2 เพื่อทดสอบตามมาตรฐานEUและสหรัฐอเมริกา(กรมวิชาการเกษตรและสภอท.) 2. แผนการวิจัยและการพัฒนาระดับชาติ - โครงการพัฒนาการผลิตถุงมือยางโปรตีนต่ำระยะเวลา 3 ปี (กรมวิชาการเกษตรกับกระทรวงวิทย์ฯอก. และสภอท.) - โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตและคุณภาพยางแท่งระยะเวลา 3 ปี(กรมวิชาการเกษตรกับกรมส่งเสริมสหกรณ์, สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง, ทบวงมหาวิทยาลัย,สมาคมยางพาราไทยและสถาบันเกษตร)

  10. 3. แผนการสนับสนุน - โครงการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรมยางระยะเวลา 3 ปี (กระทรวงวิทย์ฯ) -โครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมยางที่องค์กรสวนยางจ.นครศรีธรรมราชระยะเวลา 5 ปี (องค์การสวนยาง,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และนิคมอุตสาหกรรมฯ) 4. แผนการสนับสนุนการใช้ยางของภาครัฐระยะเวลา 3 ปี ( สมอ.,กรมวิชา เกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาอุตสาหกรรมฯ) ปี2544-254งบประมาณ20 ล้านบาทแหล่งเงินแผนปรับโครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ยางที่ผลิตได้ในประเทศเช่นยางธรรมชาติผสมยางมะตอยลาดถนน, ยางรองคอสะพาน, ยางกันชนหรือยางกันกระแทกเขื่อน/ฝาย, ยางกันซึม ,แผ่นยางปูอ่างเก็บน้ำ, รอยต่อสะพาน, ยางคั่นรอยต่อคอนกรีต, ลู่วิ่ง ,ยางปูพื้น,พรมยางปูพื้น,และถุงมือยาง

More Related