1 / 40

การพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม

การพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม. เรื่อง แนวทางปฏิบัติ เพื่อป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน โดย งานบริการไตเทียม โรงพยาบาลนครปฐม. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts ). Performance. ตัวชี้วัด. Study/Learning. เป้าหมาย วัตถุประสงค์. Do. Act/Improve. มาตรฐาน. Criteria/standard.

Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียมการพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม เรื่อง แนวทางปฏิบัติ เพื่อป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน โดย งานบริการไตเทียม โรงพยาบาลนครปฐม

  2. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Purpose Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context

  3. งานไตเทียม ให้บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย • ให้บริการล้างไตทางช่องท้อง • ให้บริการเปลี่ยนถ่าย Plasmapheresis • ให้บริการใส่สายสวนทางหลอดเลือดดำ • ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม • ให้ข้อมูลและคำปรึกษาเกี่ยวกับโรคไตและการเลือกวิธีบำบัดทดแทนไต

  4. หลักการและแนวคิด การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เป็นขบวนการนำเลือดของผู้ป่วยมาดึงเอาของเสียออกจากเลือด โดยผ่านตัวกรองเลือด ตามหลักการวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ ต้องอาศัย • เครื่องไตเทียม • ตัวกรองเลือด • น้ำยาฟอกเลือดและระบบน้ำบริสุทธิ์ การฟอกเลือดนั้น ต้องทำ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ จึงมีความจำเป็นต้องนำตัวกรองมาใช้ซ้ำ

  5. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning มาตรฐาน เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve Criteria/standard Purpose Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context

  6. มาตรฐาน (Criteria/Standard) งานไตเทียม ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ และให้บริการแบบองค์รวมโดยบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะทาง ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ

  7. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context

  8. เป้าหมายและวัตถุประสงค์เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ผู้ป่วยทุรายได้รับการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน

  9. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Plan/design ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ Process บริบท Context

  10. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมนั้น ต้องทำ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ จึงมีความจำเป็นต้องน้ำตัวกรองเลือดกลับมาใช้ซ้ำ (REUSE) เพื่อลดค่าใช้จ่าย

  11. ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ การใช้ซ้ำของตัวกรองเลือด 20 ครั้ง/ราย (ตามมาตรฐานของการใช้ตัวกรองเลือดซ้ำ) 18 คน/วัน

  12. ความเสี่ยงในการใช้ตัวกรองเลือดผิดคนความเสี่ยงในการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน Infectious marker ปกติ และผิดปกติ • Hepatitis Virus A • Hepatitis Virus B • Hepatitis Virus C • HIV

  13. ข้อมูลทางสถิติ จากการเก็บข้อมูลทางคุณภาพของงานบริการไตเทียมปี พ.ศ. 2553 อุบัติการณ์การใช้ตัวกรองเลือดผิดคน 1 ครั้ง ในเดือนเมษายน ที่ผ่านมา

  14. ตัวชี้วัด( Performance ) • อัตราการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน เท่ากับ ศูนย์

  15. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้ป่วยได้ใช้ตัวกรองเลือดได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ • เพื่อวัดและประเมินผลลัพธ์ของคุณภาพการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือด

  16. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do Act/Improve มาตรฐาน Criteria/standard Purpose Plan/design ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context

  17. การวางแผนการปฏิบัติ (plan) • จากอุบัติการณ์ ที่เกิดขึ้นหลังจากแก้ไขโดยการเปลี่ยนตัวกรองเลือดตัวใหม่ และทิ้งตัวกรองตัวที่ใช้ผิดนั้นไป ได้ตรวจดูผลเลือดของผู้ป่วยทั้ง 2 รายแล้วพบว่าผลเลือดปกติทั้งคู่ ได้แจ้งแพทย์เจ้าของไข้รับทราบแล้วไม่มีการรักษาเพิ่มเติมแต่อย่างใด และเขียนรายงานอุบัติการณ์ส่งฝ่ายคัดกรองความเสี่ยงของโรงพยาบาลตามขั้นตอนแล้วได้นำข้อมูลนี้มาประชุมในหน่วยงานเพื่อวางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้อีกและจัดทำแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนเพื่อให้ปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกันโดยมติของที่ประชุมเป็นเอกฉันท์จัดทำแนวทางปฏิบัติเรื่อง “ การจัดเตรียมตัวกรองเลือดเพื่อใช้ในการฟอกเลือด

  18. การวางแผนการปฏิบัติ (plan) • จัดทำแนวทางปฏิบัติเรื่อง “ การจัดเตรียมตัวกรองเลือดเพื่อใช้ในการฟอกเลือด • วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน • - ระบุตัวผู้ป่วยถูกต้อง • - ป้องกันการใช้ตัวกรองเลือดผิดคน • เป้าหมาย - เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย • ขอบเขต - ใช้ในงานบริการไตเทียมโรงพยาบาลนครปฐม • วิธีปฏิบัติขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการเตรียมตัวกรองเพื่อใช้กับผู้ป่วยในแต่ละรอบ • 1.1 พยาบาลหัวหน้าเวรระบุเครื่องฟอกเลือดว่าจะใช้กับผู้ป่วยรายใด • 1.2 ผู้ช่วยหยิบตัวกรองเลือดของผู้ป่วยรายนั้นๆจากชั้นวางตัวกรองมาไว้ที่เครื่องไตเทียมตามที่ระบุไว้ • 1.3 พยาบาลเจ้าของไข้ตรวจดูซ้ำอีกครั้งว่าถูกต้องหรือไม่โดยตรวจสอบกับ แฟ้ม HD ของผู้ป่วยหากพบว่าผิดพลาดให้จัดเปลี่ยนให้ถูกต้องและเก็บข้อมูลลงในแบบบันทึกความเสี่ยงประจำวันเพื่อรวบรวมไว้ประชุมในหน่วยงานและจัดส่งทีม QA ของโรงพยาบาลต่อไป • ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการรับผู้ป่วยมาฟอกเลือด • 2.1 เมื่อผู้ป่วยมาถึงให้ระบุตัวผู้ป่วยให้ตรงกับตัวกรองและ chartของผู้ป่วยโดยพยาบาลเจ้าของไข้พร้อมทั้งผู้ป่วยหรือญาติร่วมกันตรวจสอบ กรณีเป็นผู้ป่วยในและไม่มีญาติ ให้ตรวจสอบกับป้ายข้อมือที่ระบุชื่อไว้และchart ของผู้ป่วย

  19. การวางแผนการปฏิบัติ (plan) • 2.2 พยาบาลเจ้าของไข้เตรียมตัวกรองเลือดเพื่อทำการฟอกเลือดกับผู้ป่วยตามมาตรฐานการเตรียมตัวกรองเลือด (dialyzerpreparation ) • ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนสิ้นสุดการฟอกเลือด • 3.1 เมื่อพยาบาลเจ้าของไข้คืนเลือดกลับสู่ตัวผู้ป่วยเรียบร้อยแล้วให้ปลดสายส่งเลือดพร้อมตัวกรองเลือดทั้งชุดใส่ลงในถังรองรับของผู้ป่วยแต่ละราย ( ตามแนวทางปฏิบัติการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อของงานไตเทียม ) พร้อมป้ายชื่อผู้ป่วยที่จัดทำไว้ไปที่อ่างล้างตัวกรองแยกตามชนิดตัวกรองติดเชื้อหรือไม่ติดเชื้อ • 3.2 พยาบาลหรือผู้ช่วยทำการล้างตัวกรองเลือดเพื่อนำกลับมาใช้ซ้ำตามมาตรฐานการล้างตัวกรองเพื่อใช้ซ้ำ ( reprocessing dialyzer ) • 3.3 จัดเก็บตัวกรองเข้าที่พร้อมแขวนป้ายชื่อที่ระบุตัวผู้ป่วยแต่ละราย • 3.4 เมื่อจะนำมาใช้ซ้ำครั้งต่อไปให้ปฏิบัติตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 – 3 เช่นเดิม

  20. ขั้นตอนการปฏิบัติ (do) • - จัดทำป้ายชื่อเพื่อระบุตัวผู้ป่วยโดยผู้ป่วยที่มีผลเลือดปกติ ใช้ตัวอักษรสีน้ำเงิน ส่วนผู้ป่วยผลเลือดมี virus A , B , C ให้เขียนตัวอักษรสีแดง และเขียนระบุ A, B, C ด้วยสีแดงที่ตัวกรองด้วย • - ทำชั้นวางตัวกรองเลือดเพี่อแยกชั้นระหว่างตัวกรองติดเชื้อและไม่ติดเชื้อออกจากกัน • - ปฏิบัติตามแนวทางที่จัดทำขึ้นทุกรอบ ทุกวันอย่างสม่ำเสมอ

  21. ประเมินผลการปฏิบัติ (check) • - ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงานโดยพยาบาลควบคุมคุณภาพและพยาบาลหัวหน้างานไตเทียม • - บันทึกอุบัติการณ์ประจำวัน • - สรุปผลการปฏิบัติงานในที่ประชุมประจำเดือนของหน่วยงาน • - รายงานผลต่อคณะกรรมการ QA ของโรงพยาบาลก่อนวันที่ 5 ของเดือน

  22. หลักคิดสำคัญ ( Core values and Concepts) Performance ตัวชี้วัด Study/Learning Act/Improve เป้าหมาย วัตถุประสงค์ Do มาตรฐาน Criteria/standard Purpose Plan/design Process ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท Context

  23. ขั้นตอนปรับปรุงและแก้ไข (ACT) • หากมีปัญหาในการปฏิบัตินำเข้าที่ประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป ตามขบวนการ PLAN – DO – CHECK – ACT ต่อไป เพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  24. แผนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียมแผนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานบริการไตเทียม

  25. สรุปผลการดำเนินการ ไม่พบอุบัติการณ์การใช้ตัวกรองเลือดผิดคน และยังคงใช้แนวทางปฏิบัตินี้ไปอย่างต่อเนื่อง

  26. Process ( P-D-C-A ) ขั้นตอนการเตรียมตัวกรองในแต่ละรอบ • พยาบาลหัวหน้าเวรระบุเครื่องฟอกเลือดเพื่อใช้กับผู้ป่วย

  27. ขั้นตอนการเตรียมตัวกรองขั้นตอนการเตรียมตัวกรอง • ผู้ช่วยหยิบตัวกรองเลือดของผู้ป่วยรายนั้นๆจากชั้นวางตัวกรองมาไว้ที่เครื่องไตเทียมตามที่ระบุ

  28. พยาบาลเจ้าของไข้ตรวจซ้ำอีกครั้งพยาบาลเจ้าของไข้ตรวจซ้ำอีกครั้ง

  29. เตรียมตัวกรองให้พร้อมที่เครื่องฟอกเลือดเตรียมตัวกรองให้พร้อมที่เครื่องฟอกเลือด

  30. ขั้นตอนผู้ป่วยมาฟอกเลือดเมื่อผู้ป่วยมาถึงให้ระบุตัวผู้ป่วยให้ตรงกับตัวกรอง และ Chart

  31. พยาบาลเจ้าของไข้เตรียมตัวกรองเลือดเพื่อทำการฟอกเลือดให้กับผู้ป่วยพยาบาลเจ้าของไข้เตรียมตัวกรองเลือดเพื่อทำการฟอกเลือดให้กับผู้ป่วย

  32. ทำการฟอกเลือด

  33. ขั้นตอนการสิ้นสุด • พยาบาลเจ้าของไข้คืนเลือดให้ผู้ป่วย

  34. ปลดสายส่งเลือดทั้งชุดใส่ลงในถังรองรับตามชื่อผู้ป่วยแต่ละรายพร้อมป้ายชื่อผู้ป่วยที่จัดทำไว้ไปที่อ่างล้างตัวกรองแยกตามชนิดตัวกรองเลือดปลดสายส่งเลือดทั้งชุดใส่ลงในถังรองรับตามชื่อผู้ป่วยแต่ละรายพร้อมป้ายชื่อผู้ป่วยที่จัดทำไว้ไปที่อ่างล้างตัวกรองแยกตามชนิดตัวกรองเลือด

  35. อ่างล้างตัวกรองติดเชื้อ/ไม่ติดเชื้ออ่างล้างตัวกรองติดเชื้อ/ไม่ติดเชื้อ

  36. พยาบาลหรือผู้ช่วยล้างตัวกรองจัดเก็บตัวกรองเข้าที่พร้อมป้ายแขวนที่ระบุผู้ป่วยแต่ละราย

More Related