1 / 31

แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552

แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี. กรอบการดำเนินงาน PP ปี 2552. สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager และประเมินผลงานตาม composite indicator. คำนวณจาก 262.06 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.026 ล้านคน.

Download Presentation

แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการบริหารจัดการงบกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคงบประมาณ 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

  2. กรอบการดำเนินงาน PP ปี 2552 สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager และประเมินผลงานตามcomposite indicator คำนวณจาก 262.06 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.026 ล้านคน PP Capitation (193.72 บาทต่อหัว) 63.614 ล้านคน 1) PP National Priority Program (15.36) ระดับประเทศ 2) PP Community (37.50) 3) Expressed demand (109.86)หักเงินเดือน 4) PP Area based (31.00) ไม่หักเงินเดือน กองทุนตำบล (พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) จังหวัดแจ้งผลจัดสรรให้ สปสช.เพื่อโอนให้ Cup & PCU กรม Diff. by age group สปสช. สาขาจว. 70% สปสช. สาขาเขต 30 % UC NON-UC CUP ตามผลงาน

  3. หลักเกณฑ์จัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัว จังหวัดอุดรธานี ปี 2552 งบ UCปี 2552 รวมทั้งหมด (ตัดเงินเดือนระดับจังหวัด) 1,285,716,060.36 บาท PP Area Based ระดับจังหวัด 70 % 29,984,322.20 บาท กันค่าใช้จ่ายกลางระดับจังหวัด 162,494,060.63 บาท คงเหลือ 1,123,221,999.73 บาท PP 20 % 224,644,399.94บาท OP 42 % 471,753,239.89บาท IP 38 % 426,824,359.90บาท • หักค่าวัคซีน 3,874,752.96 บาท • กันตามจ่าย 35,600,000 บาท • จัดสรร สอ. 60 บาท/บัตร • ที่เหลือเป็นงบ OP รพ. • จัดสรร IP นอกเขต ตามจริง 28,584,074.70 บาท • จัดสรร IP ในเขตตาม Adj:RW จัดสรร PP Com 51,816,225 บาท จัดสร -PP Ex 106,602,865.45บาท - PP เวชภัณฑ์ 66,225,309.49 บาท

  4. อัตราจัดสรรงบแต่ละประเภทอัตราจัดสรรงบแต่ละประเภท

  5. 1) P&P Expressed demand servicesจังหวัดอุดรธานี จัดสรร = 106,602,865.45 บาท สิทธิประโยชน์ของ ปชก. ทุกสิทธิ จ่ายเป็นค่าชดเชยบริการรายบุคคล

  6. 2) PP Community(37.50 บาท/คน) จังหวัดอุดรธานี 51,816,225 บาท กองทุนตำบล 71 แห่ง ได้รับจัดสรร 22,326,450.00บาท พื้นที่ไม่มีกองทุนตำบล จัดสรรให้หน่วยบริการ (ในสังกัด สธ.+ นอกสังกัด สธ.+เอกชน) ได้รับจัดสรร 29,489,775.00 บาท แผนงานที่ใช้งบ PP Community (ในส่วนกองทุนตำบลสรุปงานร่วมกันกับ CUP)

  7. PP COM ปี 2552 จังหวัดอุดรธานี (37.50 บาท/คน) = 51,816,225 บาท CUP เมือง CUP รพช. พื้นที่ไม่มีกองทุน พื้นที่กองทุน พื้นที่ไม่มี กองทุน พื้นที่กองทุน CUP เอกชน นอกสังกัด CUP รพศ. คกก.กองทุน คกก.กองทุน เสนอแผน พื้นที่ ต.หมากแข้ง พื้นที่ตำบลอื่น เสนอแผน เสนอโครงการผ่าน คกก.PP จังหวัด ตามวงเงินที่ได้รับ จัดสรร แผน PP ตำบล สอ. / PCU แผน PP ตำบล สอ. / PCU กันงบกลางสำหรับโครงการที่ทำร่วมกันทั้ง CUP งบที่เหลือจัดสรรยอดเงินตามปชก.ของแต่ละ สอ./PCU เสนอโครงการตามวงเงินจัดสรรผ่าน คปสอ.และให้มีระบบควบคุม กำกับการดำเนินงานโดยกำหนดเงื่อนไขการโอนเงิน 50% เมื่อโครงการผ่านการอนุมัติ 50% เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จและรายงานผล คกก.PP จังหวัด แจ้ง สปสช. โอนเงินให้เมื่อ โครงการผ่านการอนุมัติ

  8. ขอบเขต/กิจกรรมที่อยู่ภายใต้งบ PP COM. • การให้การบริการ PP เชิงรุกในชุมชน แก่บุคคล และครอบครัวของหน่วยบริการ หรือหน่วยบริการอื่นๆ ที่มีกลุ่มเป้าหมายแยกจากการให้บริการภายในหน่วยบริการ หรือดำเนินการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพส่วนบุคคลและครอบครัว เช่น - การเยี่ยมบ้านและผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง - อนามัยโรงเรียน - อนามัยชุมชน

  9. ขอบเขตของการใช้เงิน • ไม่ควรซ้ำซ้อนกับกิจกรรมบริการในหน่วยบริการ Expressed – demand ยกเว้นเป็นการบริการเชิงรุก ข้อห้ามการใช้เงิน • เพื่อดำเนินกิจกรรมที่เป็นการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ • การจัดซื้อครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง • การจัดการใดๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

  10. การจัดสรร PP Community 1. ฐานประชากรที่ใช้จัดสรร ใช้ฐานข้อมูล ณ 31 สิงหาคม 2551 - ประชากรผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพ - ข้อมูลผู้ประกันตนของประกันสังคม ที่ขึ้นทะเบียน ณ จังหวัดนั้น - ข้อมูลสวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่จริง 2. งวด / ระยะเวลาการจัดสรร - งวดที่ 1 ตุลาคม 2551 50% - งวดที่ 2 มีนาคม 2552 50%

  11. ขั้นตอน / ระยะเวลาการดำเนินงาน ก. พื้นที่ ที่มีการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. และเทศบาล

  12. ข. พื้นที่ยังไม่มีการดำเนินการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. และเทศบาล

  13. 4) PP Area based ( 31.00 บาท/ปชก.) 30 % ระดับเขต 9.30 บาท/ปชก. 70 % ระดับจังหวัด 21.70 บาท/ปชก. (จว.อุดรธานี = 29,984,322.20 บาท) เพื่อจัดบริการและแก้ไขปัญหาตามแผนงาน/โครงการ ของคณะกรรมการระดับจังหวัด โดยปี 52 ให้เน้นหนัก - แก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ของพื้นที่ - สนับสนุนการดำเนินงานตรวจหามะเร็งปาก มดลูก - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่อ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน และอื่นๆ - สนับสนุนและแก้ไขปัญหาให้บรรลุเป้าหมาย ตาม ตัวชี้วัดที่กำหนด สนับสนุนพัฒนาระบบบริการ~ 2 บาท/ปชก. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 7.30 บาท/ปชก. - พัฒนาระบบ - นวตกรรม /แก้ไข ปัญหาระดับเขต - สร้างแรงจูงใจ (พื้นที่กำหนดสัดส่วนการจัดสรรเอง) สำนักตรวจฯ สสจ./สสอ. ทั้งนี้การบริหารจัดการงบฯ และการกำกับติดตามให้อยู่ ภายใต้ความเห็นชอบของอนุฯ กก. หลักประกันสุขภาพเขตพื้นที่ (อปสข.)

  14. จัดสรรให้ สปสช. สาขาจังหวัด และ สปสช. สาขาเขตพื้นที่ กทม. เพื่อจัดสรรให้แก่หน่วยบริการ งวดที่ 1จัดสรร 30% งวดล่วงหน้า (ต.ค.51อุดรธานี = 8,995,296.66 บ.) งวดที่ 2จัดสรร 60% (ม.ค.52อุดรธานี = 17,990,593.32 บ.) สปสช. เขตได้รับการแจ้งแผนจากสปสช. จังหวัดภายในเดือน ธ.ค. 51 งวดที่ 3 จัดสรร 10 % (มิ.ย.52 อุดรธานี = 2,998,432.22 บ.) เมื่อ สปสช.เขตได้รับรายงานผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน (ต.ค. 51- มี.ค.52) จาก สปสช.จังหวัด ภายใน พ.ค. 52 หมายเหตุ : ให้มีการรายงานผลรอบ 9 และ 12 เดือน ภายใน ส.ค. และ ต.ค. 52 แนวทางการจัดสรร PP Area based ร้อยละ 70งบดำเนินการจัดบริการแก้ไขปัญหาระดับพื้นที่

  15. 4) PP Area based ระดับเขต ให้เน้นหนัก 1.แก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ 2.สนับสนุนการดำเนินงานตรวจหามะเร็งปาก มดลูก 3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วนและอื่นๆ 4. สนับสนุนและแก้ไขปัญหาให้บรรลุเป้าหมา ตาม ตัวชี้วัดที่กำหนด 30 % ระดับเขต 9.30 บาท/ปชก. สนับสนุนพัฒนาระบบบริการ~ 2 บาท/ปชก. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 7.30 บาท/ปชก. สสจ./สสอ. จัดสรรลงพื้นที่ 5.80 บาท/ปชก . อุดรธานี ได้รับ 8,014,242.80 บาท เกณฑ์การจัดสรรให้พื้นที่ งวด 1 80% (ต.ค.51) งวด 2 20% (เม.ย.52) • บริหารจัดการระดับเขต 1.50 บาท/ปชก • การติดตามประเมินผล / ปชส. • 0.50 บาท/ปชก • 2. Performance base 1 บาท/ปชก

  16. PP Area based สำหรับแก้ไขปัญหาสุขภาพของหน่วยบริการในภาพรวมของจังหวัด ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามแผนงาน / โครงการ ที่คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพ ระดับจังหวัด (อปสจ.) หรือคณะกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคระดับจังหวัด เห็นชอบ ซึ่งให้การบริหารจัดการด้านงบประมาณอยู่ภายใต้การกำกับ ดูแล ของคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่ (อปสข.) โดยไม่อนุญาตให้มีการกันเงินส่วนนี้ ไว้ที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาจังหวัด ที่ใช้ดำเนินการไม่ตรงตามวัตถุประสงค์

  17. กิจกรรมที่ดำเนินงาน ประกอบด้วย 1. แก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ หรือหน่วยบริการ ภายใต้ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Evidence based) 2. สนับสนุนให้เกิดการเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตามโครงการรณรงค์ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูก (ทั้งวิธีการ Pap-smear และ VIA ) ทั้งนี้ หลักเกณฑ์การสนับสนุนงบประมาณเพื่อให้เกิดการดำเนินการดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (สปสช. สนับสนุนงบประมาณการชดเชยค่าบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแล้วในส่วนของงบ (P&P Express demand services) 3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน และโรคอื่น ๆ (เป้าหมาย 10% ของผู้ที่คัดกรองแล้วพบภาวะเสี่ยง) 4. สนับสนุนและแก้ไขปัญหาให้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด ที่กำหนดหรือนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

  18. ขอบเขตของการใช้เงิน • ไม่ควรซ้ำซ้อนกับกิจกรรมบริการหรือการดำเนินงานในส่วนของExpressed – demand และ Community ยกเว้นเป็นการบริการเชิงรุก หรือแก้ไขปัญหาในพื้นที่ • ข้อห้ามการใช้เงิน - เพื่อดำเนินกิจกรรมที่เป็นการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ - การจัดซื้อที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ส่วนการจัดซื้อจัดหาครุภัณฑ์ที่จำเป็น ให้ผ่านการเห็นชอบจาก อปสข.ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 10 % ของงบที่ได้รับการจัดสรร - การจัดการใดๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค

  19. การกำหนดเงื่อนเวลาในการบริหารจัดการงบ PPA ระดับเขต (5.80 บาท/ปชก) แจ้งรายละเอียดการจัดสรรให้ สสอ. วันที่ 16 ม.ค. 2552 สสอ.คุยกับทีม Shape Up โครงการ แล้วรวบรวมส่ง จังหวัด ภายในวันที่ 28 ม.ค.2552 จังหวัด สรุปเป็น One Page Paper โดยระบุตัวชี้วัดผลการดำเนินงานด้วย เสนอขออนุมัติในที่ประชุม อปสข. ที่จะประชุมครั้งต่อไป ในวันที่ 18 ก.พ. 2552

  20. ขั้นตอนการดำเนินงาน PPA

  21. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. บทบาทหน้าที่ของหน่วยบริการ 1. รวบรวม / จัดทำเป้าหมายการดำเนินงาน เพื่อเป็นข้อมูล ประกอบและจัดทำแผนงาน / โครงการ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับอำเภอและตำบล 2. ประสาน ติดตามและรวบรวมรายงานผลการดำเนินงานภายใต้ ความรับผิดชอบ ส่งให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพสาขาจังหวัด เป็นรายเดือน ตามรูปแบบวิธีการที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพสาขาจังหวัด กำหนด 3. ดำเนินการติดตามแผนงาน / โครงการให้บรรลุตามเป้าหมาย ที่กำหนด 4. อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการฯ / อนุกรรมการฯ ระดับอำเภอ / จังหวัด มอบหมาย

  22. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. บทบาทหน้าที่ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาจังหวัด 1. รวบรวม / จัดทำเป้าหมายการดำเนินงาน เพื่อเป็นข้อมูล ประกอบและจัดทำแผนงาน / โครงการ ระดับจังหวัด 2. ติดตาม / สนับสนุน หน่วยบริการให้สามารถจัดบริการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ติดตาม / สนับสนุน หน่วยบริการทีมีผลงานไม่บรรลุเป้าหมาย ให้ปรับแก้ไขอย่างทันท่วงที 4. ประสานติดตามและรวบรวมรายงานผลการดำเนินงาน ส่งให้ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาเขตพื้นที่ ตามเวลาที่กำหนด 5. อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการฯ / อนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด มอบหมาย

  23. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. บทบาทหน้าที่ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาเขตพื้นที่ 1. รวบรวม วิเคราะห์ แผนงาน / โครงการ ระดับจังหวัด รวมทั้งร่วมจัดทำแผนงาน / โครงการ ระดับเขตพื้นที่ อย่างมีส่วนร่วม และบูรณาการกัน 2. ติดตาม / สนับสนุน และกำกับให้สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ สาขาจังหวัด และหน่วยบริการให้สามารถจัดบริการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ 3. บริหารจัดการงบประมาณในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ 4. รวบรวม วิเคราะห์ สรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน ตามระยะเวลาที่กำหนด

  24. (ร่าง) Composite Indicators งาน P&P ปี 2552 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • 1. อัตราความครอบคลุมประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอง • ความเสี่ยง (จำแนกกลุ่ม UC & Non UC) เป้าหมาย 75% • ร้อยละของผป. Pre -DM ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ • มีผล FBS อยู่ในเกณฑ์ปกติ • ร้อยละของผป.HT ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีผล BP • อยู่ในเกณฑ์ปกติ • 4. ร้อยละของผู้ที่มีภาวะอ้วนมีเส้นรอบเอวหรือ BMI ลดลง • 5. อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-2 ปี ,3-5 ปี ,นักเรียน • เป้าหมาย 90% ในแต่กลุ่ม • อัตราความครอบคลุมสตรีอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอง • มะเร็งปากมดลูก เป้าหมาย 40%

  25. (ร่าง) Composite Indicators งาน P&P ปี 2552 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 7. ร้อยละผู้ป่วยที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกผิดปกติตั้งแต่ระดับ High grade ขึ้นไปได้รับการตรวจรักษา 8. ร้อยละ CIS ต่อ CA Cx ระยะลุกลาม 9. ร้อยละความครอบคลุมการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามกลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย 80% 10. ร้อยละเด็กอายุ 6 -12 ปี ที่มีปัญหาร่องฟันได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 11. อัตราผู้ป่วยในด้วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือ โรคหลอดเลือดสมอง 12. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

  26. (ร่าง) Composite Indicators งาน P&P ปี 2552 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 13. อัตราผู้ป่วยในด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 14. ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาในเขตพื้นที่ของ สปสช 15. ตัวชี้วัดการดำเนินงานของคณะกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคระดับจังหวัด

More Related