1 / 99

เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6. นพ.ประสิทธิ์ มานะเจริญ. เครือข่ายบริการที่ 6. สมุทรปราการ. ข้อมูลประชากร จำนวนเตียง และอัตรากำลังแพทย์ เครือข่ายบริการที่ 6. มุ่งเน้น. พัฒนาศักยภาพ Excellence center, Share resources

aldan
Download Presentation

เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ServicePlan เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 นพ.ประสิทธิ์ มานะเจริญ

  2. เครือข่ายบริการที่ 6 สมุทรปราการ

  3. ข้อมูลประชากร จำนวนเตียง และอัตรากำลังแพทย์ เครือข่ายบริการที่ 6

  4. มุ่งเน้น • พัฒนาศักยภาพ Excellence center, Share resources พบส(พี่ช่วยน้อง น้องช่วยพี่), มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด • Referral system seamless ไร้รอยต่อ สิทธิเท่าเทียมกัน 3 กองทุน • ประสิทธิภาพ CMI, Refer in, Refer out, Refer back, unit cost, อัตราตาย, อัตราครองเตียง, ระยะเวลาวันนอน, การเข้าถึง, ระยะเวลารอคอย

  5. การจัดระบบพัฒนาบริการ-ส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดสมุทรปราการ

  6. การจัดระบบพัฒนาบริการ-ส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดปราจีนบุรี

  7. ระบบส่งต่อผู้ป่วย : ศูนย์ทารกแรกเกิด

  8. ระบบส่งต่อผู้ป่วย : ศูนย์โรคมะเร็ง

  9. ระบบส่งต่อผู้ป่วย : ศูนย์โรคหัวใจ

  10. ระบบส่งต่อผู้ป่วย : ศูนย์อุบัติเหตุ

  11. ระบบส่งต่อผู้ป่วย : ศูนย์อุบัติเหตุ - ศัลยกรรมประสาท

  12. สาขาหัวใจและหลอดเลือดสาขาหัวใจและหลอดเลือด

  13. Accessibility เป้าหมายการดำเนินการ สาขาหัวใจและหลอดเลือด ๑. ระบบ Fast track ๒. ระบบปรึกษาส่งต่อ ๓. มีการเปิดหลอดเลือดมากขึ้นในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายตามเกณฑ์ ๔. มีการให้ยาละลายลิ่มเลือดที่โรงพยาบาลระดับ F๒ ขึ้นไป ๕. มีการเปิดหลอดเลือดด้วยสายสวนและบอลลูนที่โรงพยาบาลระดับ A๒ ขึ้นไป ๖. มีการให้ Antithrombotic agent ที่โรงพยาบาลเครือข่ายระดับ F๓ ขึ้นไป ๗. มี Warfarinคลินิกที่โรงพยาบาลระดับ F๑ ขึ้นไป ๘. มี Heart failure clinic ที่โรงพยาบาลระดับ S ขึ้นไป ๙. มีเตียง CVT ICU, CCU/ICU เพียงพอ

  14. Better Service เป้าหมายการดำเนินการ สาขาหัวใจและหลอดเลือด Faster ๑. โรงพยาบาลเครือข่ายส่งต่อผู้ป่วยได้สะดวก รวดเร็วเป็นที่พึงพอใจ ๒. ระยะเวลาการให้ยาละลายลิ่มเลือดได้รวดเร็วขึ้น (Door to needle time ภายใน ๓๐ นาที) ๓. ระยะเวลาการเปิดหลอดเลือดด้วยสายสวนและบอลลูนได้รวดเร็วขึ้น (Door to balloon time ภายใน ๙๐ นาที) ๔. Total ischemic time < ๑๘๐ นาที ๕. ให้ antithrombotic agent ที่โรงพยาบาลตามเกณฑ์มากขึ้น ๖. คิวผ่าตัดสั้นลงและผ่าตัดมากขึ้น Safer ๑. อัตราตายผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันลดลงตามเกณฑ์ ๒. อัตราตายผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดลดลงตามเกณฑ์ ๓. อัตราตายโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรังชนิด reduced EF ลดลงตามเกณฑ์ ๔. อัตราการนอนโรงพยาบาลซ้ำจากโรคหัวใจล้มเหลวลดลงตามเกณฑ์ ๕. อัตราแทรกซ้อนจากการใช้ยา warfarinลดลงตามเกณฑ์ ๖. Time in therapeutic range ตามเกณฑ์

  15. ประเด็นปัญหา ข้อมูลสนับสนุน มาตรการแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ SERVICE PLAN สาขาหัวใจและหลอดเลือด 1. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย STEMI = 5.5 % (3-17)/NSTEMI 2. อัตราการได้รับการรักษาด้วยการเปิดหลอดเลือด 3 % 3. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย UAP ใน รพ.= 2.5 % 4. ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังมีอัตราตายและจำนวนวันนอนรพ.สูง 5. คิวผ่าตัดผู้ป่วยโรคหัวใจยาว 8 เดือน – 2 ปี (ผู้ป่วยมาก, ขีดความสามารถ รพ., ขาดผู้เชี่ยวชาญ) 6. จำนวนผู้ป่วย, รพ.ที่สามารถให้บริการสัดส่วนน้อย ร้อยละ 20 1.เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute ST elevation MI net work) 2. เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (NSTEMI net work) 3. ระบบการรักษาผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Heart failure Clinic) 4. รอคิวผ่าตัดยาวนาน 5. ระบบการรักษาด้วยยาต้าน การแข็งค่าของเลือด (Warfarin Clinic) 1. การวินิจฉัย การคัดกรองผู้ป่วยจากอาการ ECG, Cardiac worker (Troponin) 2. Consultation System 3. Optimized drug 4. Referral System 5. Post MI Care 6. กำหนดความสามารถของ รพ.พัฒนาศักยภาพ รพ.และส่งเสริมการจัดตั้ง Heart Failure Care 7. ส่งเสริมศักยภาพ รพ.ให้มี Open Heart Units Screening and prevention 8. จัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรตาม Service Plan 9. สนับสนุน Warfarin Clinic ใน รพ.ทุกระดับ

  16. สาขามะเร็ง

  17. Accessibility Better Service เป้าหมายการดำเนินการ สาขามะเร็ง 1.มีรูปแบบการรณรงค์และจัดกิจกรรมอย่างขัดเจน 2.ตรวจมะเร็งปากมดลูกคลอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 80 ใน 5 ปี 3.มีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือนมากกว่าร้อยละ 90 4.คิวระยะฉายแสงลดลงกว่า 50 % ใน 3 ปี faster 1.ลดผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งในส่วนที่เกี่ยวข้องลดลง 2.คิวน้อยลง Safer 1.สตรีไทยเข้ารับการตรวจมะเร็งมดลูกอย่างน้อย 1 ครั้งในระยะ 5 ปี ร้อยละ 100 2. สตรีไทยมีการตรวจเต้านมจนสามารถพบมะเร็งระยะ ๑-๒ ≥ 80% ในปี ๒๕๕๗ และเพิ่มขึ้นทุกปี 3.ตายน้อยลง พิการน้อยลงป่วยน้อยลง คุณภาพอื่นๆ 1. ได้รับการรักษาเร็วขึ้น 2. อัตราการตายลดลง

  18. ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไขปัญหา เป้าหมายตัวชี้วัด ข้อมูลสนับสนุน การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขามะเร็ง 1.มะเร็งเต้านม 2.มะเร็งปากมดลูก 1.ความตระหนักของประชาชนในการป้องกันโรคมะเร็ง 2.การตรวจพบมะเร็งระยะลุกลาม/แพร่กระจายรักษาไม่หาย/หายยาก 1.Prevention/screening 2.Diagnosis เพิ่มศักยภาพการวิจัย 3.Treatment เพิ่มศักยภาพการรักษา 4.Rehabilitation -เพิ่มศักยภาพในการฟื้นฟูผู้ป่วยที่บ้าน(รพ.สต.) -พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วย ระยะสั้น มีรูปแบบรณรงค์และจัดกิจกรรมอย่างชัดเจน ระยะยาว ลดอัตราตายด้วยโรคมะเร็งน้อยกว่าร้อยละ 40ต่อแสนประชากร

  19. สาขาอุบัติเหตุ

  20. Accessibility Better Service เป้าหมายการดำเนินการ สาขาอุบัติเหตุ MoreEfficiency Faster Fast Track จาก ER-OR ภายใน 15 นาที > 70% Safer -การส่งต่อ ผู้ป่วย มีความถูกต้องเหมาะสม > 95% ตามมาตรฐาน -มีการดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤต (Head Injury,Multiple, Trauma) ได้ในโรงพยาบาลเครือค่าย -

  21. ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไขปัญหา ข้อมูลสนับสนุน การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขาอุบัติเหตุ • ๑.การบาดเจ็บหลายระบบเป็นสาเหตุการตายหลักของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ • ๒.ขาดแคลนแพทย์ที่สามารถดูแลผู้บาดเจ็บในทุกระดับ • ๑.การวินิจฉัยและการรักษา • ๑.ให้การวินิจฉัยภาวะคุกคามชีวิตและอวัยวะในเบื้องต้นได้ (Initial Diagnosis) • ๒.ให้การรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบขั้นต้นได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม(Initial treatment) มีอุปกรณ์การช่วยชีวิตเบื้องต้นครบถ้วนพร้อมใช้งาน • ๓.มีศัลยแพทย์ทั่วไปที่สามารถให้บริการผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบที่ไม่ซับซ้อนมากได้ • ๒. การให้บริบาลผู้บาดเจ็บหลายระบบ (Multiple injury) • ๑.เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บสูง • ๒.การวินิจฉัย การส่งต่อและการรักษามีความล่าช้า

  22. มาตรการแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขาอุบัติเหตุ • ๔.มีศัลยแพทย์อุบัติเหตุที่พร้อมให้บริการได้ตลอดเวลา • ๕. ห้องฉุกเฉิน มีทีมแพทย์พยาบาล เจ้าหน้าที่อื่น เครื่องมืออุปกรณ์กู้ชีพชั้นสูง มีระบบการคัดแยกและช่วยเหลืออย่างมีประสิทธิภาพ • ๖.ห้องผ่าตัดและห้องพักฟื้นมีบุคลากรพร้อมให้บริการผ่าตัดได้ตลอดเวลา • ๗.สามารถให้การรักษาผู้ป่วยจุลศัลยกรรม/advance burnได้ • ๘.สามารถให้การรักษาด้วยรังสีร่วมรักษาได้ (Interventional Radiologist) • ๙.มีหอดูแลผู้ป่วยวิกฤต

  23. มาตรการแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขาอุบัติเหตุ • ๓.หน่วยงานสนับสนุน • ๓.๑ ปฏิบัติการรังสีวิทยามีความพร้อม ทำ • ๓.๑.๑ CT Scan • ๓.๑.๒ CT Angiogram หรือ Angiogram • ๓.๑.๓ MRI หรือ MRA • ๓.๑.๔ Angiographic Embolization • ๓.๒ ห้องปฏิบัติการมีความพร้อมตลอดเวลา และมีคลังเลือดหรือระบบประสานกับ • ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ๓.๓ มีงานด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู • ๔.มีระบบการส่งต่อระหว่างสถานบริการรวดเร็วและมีคุณภาพ

  24. สาขาทารกแรกเกิด

  25. Accessibility Better Service เป้าหมายการดำเนินการ สาขาทารกแรกเกิด -มีเตียง NICU และ SNB เพียงพอ -มี transport team ตามเกณฑ์ -มี cooling system ใน รพ. 3 แห่ง -มีระบบการเตรียม TPN Safer -ตายน้อยลง -พิการน้อยลง -ป่วยน้อยลง -อัตราตายทากรกแรกเกิดลดลง -ROP ลดลง -IVH ลดลง -Hearing loss ลดลง -ภาวะแทรกซ้อนระหว่างรับ – ส่งต่อลดลง -อัตราการเกิด asphyxia ลดลง -อัตราตายและพิการลดลง faster -คิวน้อยลง - Antenatal steroid -Hearing screening - ROP screening -IVH screening -ระบบรับ–ส่งต่อเร็วขึ้น - รักษาภาวะ Asphyxia โดย cooling system เร็วขึ้น

  26. MoreEfficiency เป้าหมายการดำเนินการ สาขาทารกแรกเกิด -ใช้ทรัพยากรน้อยลง,ต้นทุนต่อหน่วยดีขึ้น, ใช้ร่วมกันไม่ซ้ำซ้อน -มี transport team รพ.ระดับ M2 ขึ้นไป ลดการใช้ทรัพยากรเกี่ยวกับการ transport ใน รพ. อื่น ๆ -มี cooling system ใน 3 รพ.ทำให้ลดการใช้ทรัพยากรใน รพ. อื่น

  27. ประเด็นปัญหา การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขาทารกแรกเกิด • ด้านระบบบริการ • -มาตรฐานการดูแลหญิงตั้งครรภ์ การคลอดและการดูแลทารกแรกเกิดในแต่ละระดับ • ขาดเตียง NICU และ SNB ในการดูแลทารกแรกเกิดในเครือข่าย • โรค • -หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น • หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ ANC • ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยมีภาวะแทรกซ้อนและอัตราตายสูง • ทารกแรกเกิด birth asphyxia มีภาวะแทรกซ้อน และอัตราตายสูง • ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการส่งต่อสูง ด้านการจัดการ -พัฒนารพ.ทุกแห่งมีบทบาทหน้าที่ตาม service plan - จัดการทรัพยากร และบุคลากรให้เหมาะสม คุ้มค่า

  28. เป้าหมายตัวชี้วัด ข้อมูลสนับสนุน มาตรการแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขาทารกแรกเกิด • สถิติอัตราการตายมารดาและทารก ย้อนหลัง 3 ปี • refer In/out ของ รพช. -การคัดกรอง -การวินิจฉัย -การรักษา -การรับ –ส่งต่อ -ทีมรับ – ส่งต่อ ใน รพ.ระดับ M 2 ขึ้นไป -Cooling System ในเครือข่ายบริการที่ 6 3 แห่ง • - อัตราทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกิน ร้อยละ 7 ภายใน 5 ปี • - อัตรา Birth Asphyxia ในทารกแรกเกิด ไม่เกิน ร้อยละ 10

  29. สาขาจิตเวช

  30. Accessibility Better Service เป้าหมายการดำเนินการ สาขาจิตเวช • 1. รพช.มีแพทย์ GP เป็นผู้ • วินิจฉัย รักษาและส่งต่อ • 2. เสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อจัดการกับปัญหาต่าง ๆและปรับตัวได้อย่างเหมาะสม • 3. เมื่อมีปัญหาทางสุขภาพจิตและจิตเวช สามารถเข้าถึงการบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว คิวการรอคอยไม่นาน • 4. ผู้ป่วยสามารถกลับมาใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข • 5.จุดเน้นของเครือข่ายคือ ผู้ป่วยจิตเภทมีการติดตามดูแลเพื่อไม่ให้กลับเป็นซ้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 80ภายใน 5 ปี faster 1.ผู้ป่วยรับบริการในพื้นที่ (ใกล้บ้าน-ใกล้ใจ) 2.ลดขั้นตอนการรับบริการใน รพท./รพศ 3.การค้นหา/การคัดกรองผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในระดับปฐมภูมิและผู้ป่วยเรื้อรังหรือผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ได้รับการดูแลที่รวดเร็ว (early detection and early management) 4. การเข้าถึงระบบบริการได้รวดเร็ว

  31. Better Service เป้าหมายการดำเนินการ สาขาจิตเวช • Safer • 1. การเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น • 2. ตั้งครรภ์เมื่อพร้อม • 3. การเลี้ยงลูก ครอบครัวอบอุ่น • 4. ทักษะชีวิต • 5. ความเข้มแข็งทางจิตใจ • 6. การคิดบวก • 7. การคลายเครียด • 8. ไม่มีอาการกำเริบ โดยเฉพาะกลุ่มโรคจิตมีระบบการติดตาม เฝ้าระวังการ lost F/U • คุณภาพอื่นๆ • -สถานบริการแต่ละระดับพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ตามแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตและจิตเวชกรมสุขภาพจิต ทั้ง 5 ด้าน (1.บุคคลากร 2.สถานบริการ 3.ระบบบริการ 4.การส่งต่อ และ 5.การติดตามดูแล) • -ปรับระดับให้ดีขึ้น 1 ระดับ ภายใน3 ปีและให้เป็นระดับ 1 มากกว่าร้อยละ 50 ใน 5 ปี

  32. More Efficiency เป้าหมายการดำเนินการ สาขาจิตเวช -มีการใช้ทรัพยากรทางสุขภาพจิตร่วมกัน เช่น บุคลากรทางสุขภาพจิต และงบประมาณ -มีการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วในระบบมาปรับใช้เพื่อลดต้นทุน เช่น ระบบการส่งต่อข้อมูล

  33. ประเด็นปัญหา มาตรการแก้ไขปัญหา ข้อมูลสนับสนุน การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขาจิตเวช 1.จากแบบประเมิน Gap Analysis ตามเกณฑ์มาตรฐานบริการสุขภาพจิต 2.สถิติการบาดเจ็บก่อให้เกิดภาระของโรคที่มีต่อโรค (Global Burden of Disease) โรคจิตเวชที่พบมากที่สุดคือ จิตเภท ร้อยละ 11 3. จำนวนผู้ป่วยโรคจิตทั้ง 8 จังหวัดมีแนวโน้มสูงขึ้น 1.องค์ความรู้การบริการสุขภาพจิตและจิตเวชด้านบุคลากรและระบบบริการ 2.การดูแลผู้ป่วยโรคจิตเวช 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากร สร้างเสริมเจตคติ จิตสำนึก 2.รณรงค์การค้นหา คัดกรองผู้ป่วยโรคจิตในพื้นที่ 3.มีระบบเครือข่ายในการติดตาม-ส่งต่อผู้ป่วย

  34. เป้าหมายและตัวชี้วัด การวิเคราะห์ภาพรวม และการดำเนินการ Service Plan สาขาจิตเวช ระยะสั้น 1.บุคลากรด้านสุขภาพจิตได้รับการอบรมฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง 2.ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่องระดับ 2 ระยะยาว 1.อัตราการเกิดอาการกำเริบซ้ำในผู้ป่วยจิตเวชไม่เกินร้อยละ 15 2.อัตราการขาดยาไม่เกินร้อยละ 15

More Related