1 / 10

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( service plan ) สาขาการให้บริการผู้ป่วยทารกแรกเกิด

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( service plan ) สาขาการให้บริการผู้ป่วยทารกแรกเกิด. เป้าหมาย * เกิดการจัดการระบบการดูแลทารกแรกเกิด * เกิดระบบส่งต่ออย่างเหมาะสม * พัฒนาสถานบริการทุกระดับให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ ตามบริบทและขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด.

alcina
Download Presentation

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( service plan ) สาขาการให้บริการผู้ป่วยทารกแรกเกิด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( service plan ) สาขาการให้บริการผู้ป่วยทารกแรกเกิด เป้าหมาย* เกิดการจัดการระบบการดูแลทารกแรกเกิด * เกิดระบบส่งต่ออย่างเหมาะสม * พัฒนาสถานบริการทุกระดับให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ ตามบริบทและขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ระบบบริการสุขภาพในประเด็นสำคัญและเร่งด่วน 3 ประเด็น 1.ทารกเกิดก่อนกำหนดและทารกครบกำหนดที่มีน้ำหนักแรกเกิด น้อยกว่า 2500 กรัม 2.ระบบการรับและส่งต่อทารกแรกแผนพัฒนาเกิดระหว่างสถานบริการ ยังไม่ได้มาตรฐานสากล 3.ภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด (birth asphyxia)

  2. ขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด๒๕๖๐ขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด๒๕๖๐ • รพช F2 รพ.พระสมุทรเจดีย์ • รพช.F1 รพ.บางจาก • รพช.แม่ข่าย M2 รพ.บางบ่อ • รพท.M1 รพ.บางพลี • รพท.S รพ.สป. • รพศ.A2 • รพศ.A1

  3. การแบ่งระดับการดูแลรักษาทารกแรกเกิดการแบ่งระดับการดูแลรักษาทารกแรกเกิด รพ.สต: ไม่มีการคลอด , ANC คุณภาพ * ส่งเสริม ให้ความรู้ให้เด็กผู้หญิงยุคใหม่มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ตั้งครรภ์ในวัยที่เหมาะสม * ให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์(ANC)ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมตามเกณฑ์ * สามารถคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงและส่งต่อได้อย่างเหมาะสม รพช.F3* ให้การดูแลเบื้องต้นหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงและส่งต่อได้อย่างเหมาะสม * สามารถตรวจครรภ์โดยใช้เครื่อง U/S เพื่อประเมินอายุครรภ์ ส่วนนำ ตำแหน่งรวมทั้งลักษณะของรก และปริมาณน้ำคร่ำ

  4. รพช.F3 * สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะคลอด ทำคลอด และให้การดูแลหลังคลอดได้ตามมาตรฐาน * สามารถประเมินให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความเสี่ยงขณะคลอดได้ * สามารถให้การช่วยเหลือทารกแรกเกิด (neonatal resuscitation) ทุกรายได้อย่างเหมาะสม * สามารถตรวจติดตามทารกแรกเกิดอายุครรภ์ครบกำหนด เมื่ออายุครบ 7 วัน คัดกรองความผิดปกติ ให้คำแนะนำ รวมทั้งส่งต่อได้อย่างเหมาะสม * ตรวจประเมินและให้การดูแลทารกแรกเกิดปกติได้ * ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นทารกแรกเกิดที่ป่วย สามารถคัดกรองทารกที่มี ความเสี่ยงและส่งต่อได้อย่างเหมาะสม

  5. รพช.F3 *ให้การดูแลติดตามทารกที่โรคเรื้อรังและได้รับการดูแลต่อที่บ้านได้รพช.F3 *ให้การดูแลติดตามทารกที่โรคเรื้อรังและได้รับการดูแลต่อที่บ้านได้ รพช.F2*ดูแลทารกแรกเกิดครบกำหนดที่เจ็บป่วยไม่รุนแรง ต้องการการดูแล รักษาที่ไม่ซับซ้อน เช่น -ตรวจและรักษาทารกที่มีตัวเหลืองด้วยphototherapy -การฉีดยา antibioticในทารกที่สงสัยว่ามี sepsis รพช.F1*ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและดูแลทารกแรกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์ 35-37สัปดาห์ หรือน้ำหนัก > 2000 กรัมที่ปกติได้ *ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นทารกที่ป่วยหนัก หรือทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์ < 35 สัปดาห์และส่งต่อได้อย่างเหมาะสม *ให้การรักษาทารกป่วยที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น -การทำpartial exchange transfusion -mild RDS:oxygen box,canula

  6. รพช.F1*ดูแลทารกที่ถูกส่งกลับจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้รพช.F1*ดูแลทารกที่ถูกส่งกลับจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้ intermediate/chronic careเช่น -weaning oxygenในทารกchronic lung -feedingและrehabilitationในทารกที่มีmorbidity *ตรวจติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มี น้ำหนักแรกเกิด>1500กรัม หรือไม่มีปัญหาซับซ้อนหลังออกจากร.พ *สามารถให้บริการกายภาพบำบัดและกระตุ้นพัฒนาการ รพ.แม่ข่ายM2 *มีหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด(NICU)อย่างน้อย2เตียงและสามารถ *ให้การดูแลทารกที่มีน้ำหนัก>1500กรัมที่ไม่ได้มีปัญหาซับซ้อน *ให้การดูแลทารกที่ป่วยหนักเช่นrespiratory failure ที่ใช้เครื่องช่วยหายใจหรือCPAP ได้ *สามารถทำหัตถการที่ซับซ้อนมากขึ้นเช่น total exchange transfusion

  7. รพ.แม่ข่ายM2 *รับส่งต่อจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้การดูแลต่อ:รพ.แม่ข่ายM2 *รับส่งต่อจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้การดูแลต่อ: -ทารกที่น้ำหนักมากกว่า1500กรัมเพื่อรอเลี้ยงโต -ทารกหลังการผ่าตัดที่อาการคงที่ *ให้การดูแลระยะสุดท้ายเช่นsevere anomalyหรือ birth defect รพท.M1 *มี transport teamทำหน้าที่เตรียมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ รับ-ส่งต่อผู้ป่วยภายในเครือข่าย *สามารถให้การดูแลทารกแรกเกิดที่น้ำหนัก>1500กรัม *มีTPN(โดยการเตรียมเองหรือจัดหาจากรพ.แม่ข่าย) *สามารถตรวจหาความผิดปกติในทารกกลุ่มเสี่ยงได้เช่น -ROP -hearing screening -head U/S เพื่อประเมินภาวะ IVH,PVL

  8. รพท.M1*ให้การดูแลเบื้องต้นทารกที่สงสัยว่ามีปัญหาโรคหัวใจรพท.M1*ให้การดูแลเบื้องต้นทารกที่สงสัยว่ามีปัญหาโรคหัวใจ และอยู่ในภาวะวิกฤติ *สามารถให้การรักษาทารกน้ำหนักตั้งแต่1000กรัมขึ้นไปได้ *สามารถให้การรักษาทารกที่มีsevere respiratory failure ด้วยยา และเครื่องช่วยหายใจชนิดความถี่สูงเช่น severe RDS, PPHN รพท.S *สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นทารกแรกเกิดที่สงสัยภาวะcongenital heart disease และให้การรักษาด้วย PGE1ได้ รพศ.A2 *สามารถให้การรักษาผู้ป่วยทารกที่มีปัญหาทางศัลยกรรมได้เช่น gut obstruction,abdominal wall defect *สามารถให้การรักษาทารกน้ำหนัก<1000กรัมได้ รพศA1 *สามารถรักษาPDA ligation,balloon septostomy,laser *เป็นแม่ข่ายจัดตั้งtransport network

  9. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหาตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหา • 1.อัตราการคลอดก่อนกำหนด(GA<37wk) < ร้อยละ12 • 2.อัตราการคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม < ร้อยละ 10 • 3.อัตราการให้ antenatal steroid อย่างน้อย 2doseก่อนการคลอด(ในหญิง GA 24-34 สัปดาห์) > ร้อยละ 70 • 4.อัตราการตายของทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่า 28 วัน < ร้อยละ 8 • 5.อัตราการตรวจคัดกรองในทารกที่น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 1500 กรัม หรืออายุครรภ์ต่ำกว่า 32 สัปดาห์ : ROP,IVH,OAE • 6.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในทารกที่น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 1500 กรัมหรืออายุครรภ์ต่ำกว่า 32 สัปดาห์ แยกน้ำหนัก

  10. ตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหาตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหา • 1.อัตราการเสียชีวิตทุกน้ำหนัก • 2.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างส่งต่อ • 3.อัตราการปฏิเสธการรับผู้ป่วยภายในเครือข่ายบริการ • 1.อุบัติการณ์การเกิดภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด • 2.อัตราการตายจากภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด

More Related