1 / 22

เรื่องพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง สมาชิก นายชัชชล ศิริจันทราวงษ์ เลขที่ 14 ม.4/6

เรื่องพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง สมาชิก นายชัชชล ศิริจันทราวงษ์ เลขที่ 14 ม.4/6 นายสรัล สุทธวาสน์ เลขที่ 19 ม.4/6 น.ส.ชลนิสา นมัสการ เลขที่ 31 ม. 4/6 น.ส.ชลธิชา นวลประดิษฐ์ เลขที่ 33 ม. 4/6 น . ส . พิมพ์ลภัส ทวีวุฒิ เลขที่ 34 ม.4/6 น . ส . ปลายฟ้า ถึกไทย เลที่ 39 ม.4/6

Download Presentation

เรื่องพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง สมาชิก นายชัชชล ศิริจันทราวงษ์ เลขที่ 14 ม.4/6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เรื่องพุทธศาสนิกชนตัวอย่างเรื่องพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง สมาชิก นายชัชชล ศิริจันทราวงษ์ เลขที่14 ม.4/6 นายสรัล สุทธวาสน์ เลขที่19 ม.4/6 น.ส.ชลนิสา นมัสการ เลขที่31 ม.4/6 น.ส.ชลธิชา นวลประดิษฐ์ เลขที่33 ม.4/6 น.ส.พิมพ์ลภัส ทวีวุฒิ เลขที่34 ม.4/6 น.ส.ปลายฟ้า ถึกไทย เลที่39 ม.4/6 น.ส.สุกัญญา แก้วสว่าง เลขที่40 ม.4/6 น.ส.ธัญชนิต พึ่งบาง เลขที่43 ม.4/6

  2. สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระนาราย์มหาราชทรงเป็นพระราชโอราชในสมเด็จพระเจ้าปราสาททองกับพระอัครเทวี พระองค์เจ้าศิริราชกัลยา พระราชสมภพ ณ วันจันทร์ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ.2157 (จุลศักราช 994) เมื่อยังทรงพระดยาว์มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้านรินทร์" ครั้งเจริญพระชันษาได้1เดือน สมเด็จพระราชบิดาตรัสให้มีการพระราชพิธีขึ้นพระอู่ก้มีเหตุมหัศจรรย์ คือในระหว่างพระราชพิธี ขณะที่กุมารบรรทมอยู่ในพระอู่ พระญาติวงฝ่ายในบังเอิญเห็นเป็น4พระกรเเล้วจึงกลับเป้นสองพระกร สใเด็จพระเจ้าปราสาททองจึงตรัสให้เอานิมิตมาเปลี่ยนพระนามใหม่ว่า "พระนารายณ์ราชกุมาร" เมื่อพระชันษาได้10ปีพระราชบิดาโปดเกล้าให้ผนวชเป็นสามเณรเพื่อศึกษาวิทยาการ เเละศิลปศาสตร์จนมีพระชันษา 16 ปี จึงลาผนวชขึ้นครองราชเป้นรัชกาลที่4 เเห่งราชวงศ์ปราสาททอง

  3. คุณธรรมของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชคุณธรรมของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช 1. ท่านทรงเป็นแบบอย่างของพระภิกษุและชาวพุทธทุกคนในการศึกษาค้นคว้าหลักธรรมะให้เข้าใจอย่างแท้จริง จนสามารถเทศนาสั่งสอนพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้เข้าใจธรรมะของพระพุทธเจ้าอย่างถูกต้องชัดเจน และสามารถนำไปเป็นแนวปฏิบัติได้ 2. ท่านทรงแต่งตำราทางพระพุทธศาสนาไว้มากมาย ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อ่านที่สามารถนำหลักธรรมของพระพุทธเจ้าที่ท่านเขียนไว้ไปประพฤติปฏิบัติได้ 3. ท่านมีปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้มวลมนุษย์ได้เข้าใจหลักธรรมะที่ตนนับถือ (ไม่ว่าศาสนาใดก็ตาม) ต้องการสร้างความปองดองกันในทุกศาสนา ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยก และต้องการให้ทุกคนไม่หลงมัวเมาอยู่ในแต่ “วัตถุนิยม” แต่หันมาสนใจธรรมะ เข้าใจธรรมะ และปฏิบัติธรรมะ ในลักษณะ “ธรรมนิยม” 4. ท่านเป็นแบบอย่างของชาวพุทธในการเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้องให้แก่ชาวโลก ดังนั้นจึงมีผู้ให้ความสนใจที่จะเข้าไปศึกษาธรรมะกับท่านในสวนโมกขพลาราม ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ท่านได้ช่วยรื้อฟื้นธรรมะของพระพุทธเจ้า ปลุกชาวพุทธให้ตื่นตัว ให้ก้าวหน้า เพื่อทำกิจอันเป็นประโยชน์แก่พระศาสนา

  4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ประสูติเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2396 เถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อ วันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2411 สวรรคต เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 ทรงมีพระชนายุได้ 57 พรรษา รวมเวลาครองราชย์ 42 ปี

  5. คุณธรรมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวคุณธรรมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 1. ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา การส่งเสริมการศึกษาของพระสงฆ์ โดยการสร้างมหาวิทยาลัยสงฆ์ขึ้น 2 แห่ง 2. ทรงดำรงตนอยู่ในพุทธธรรม โดยนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการปกครอง จนได้รับขนานนามว่า “พระปิยมหาราช

  6. พระนางมัลลิกา เป็นราชธิดาของกษัตริย์ในแคว้นกุสินารา เมื่อเจริญวัยได้อภิเษกกับเจ้าชายพันธุละ หลังอภิเษกได้ไปอยู่กับพระเจ้าปเสนทิโกศล สหายที่เมืองสาวัตถี เจ้าชายพันธุละได้รับแต่งตั้งเป็นเสนาบดี ทำงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต พันธุละเสนาบดี ทราบว่าอำมาตย์ผู้วินิจฉัยคดีนั้นได้วินิจฉัยคดีด้วยความไม่สุจริตจึงทำการวินิจฉัยเอง โดยให้ความยุติธรรมแก่เจ้าทุกข์ จึงเป็นที่นับถือมาก จากนั้นจึงได้รับมอบหมายให้ปราบข้าราชการทุจริตอีกตำแหน่ง ด้วยเหตุนี้เหล่าอำมาตย์ที่สูญเสียอำนาจจึงยุยงว่าพันธุละเสนาบดีจะชิงอำนาจจาก พระเจ้าปเสนทิโกศลพอนางได้ฟังจึงนำจดหมายเรียนต่อพระเถระว่าทำใจได้แล้วเกี่ยวกับการตายของสามีและลูกพระสารีบุตรจึงสอนว่า “ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ไม่มีเครื่องหมายบอกให้รู้ว่าเบื้องหน้าจะเป็นอย่างไร ไม่มีใครรู้ ทั้งลำบาก ทั้งอายุสั้น ทั้งด้วยความทุกข์”

  7. คุณธรรมของพระนางมัลลิกาคุณธรรมของพระนางมัลลิกา 1.มีขันติและเข้าใจโลก 2.เป็นผู้มั่นคงในพระพุทธศาสนา

  8. หมอชีวกโกมารภัจจ์ เป็นบุตรของนางสาลวดี นครโสเภณีประจำเมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ในสมัยนั้นตำแหน่งนี้มีเกียรติยศต่างจากในสมัยนี้ นางสาลวดีตั้งครรภ์โดยบังเอิญ เมื่อคลอดบุตรชายออกมาจึงสั่งให้สาวใช้นำไปทิ้ง แต่อภัยราชกุมาร พระราชโอรสของพระเจ้าพิมพิสารไปพบเข้า จึงนำมาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม ตั้งชื่อว่า ชีวก (แปลว่า ผู้ยังมีชีวิตอยู่) โดยมีชื่อต่อท้ายว่า โกมารภัจจ์ (แปลว่าผู้ที่เจ้าชายนำไปเลี้ยงไว้อย่างพระกุมาร) ต่อมาชีวกได้ลาพระบิดาไปเรียนศิลปวิทยาที่เมืองตักสิลาวิชาที่เลือกเรียนคือวิชาแพทย์ เรียนเป็นเวลา 7 ปี หลังจากกลับเมืองมาแล้ว ได้รักษาพระเจ้าพิมพิสารให้หายขาดจากภคันทลาพาธ (โรคริดสีดวงทวาร)

  9. และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหมอหลวง และได้รับพระราชทานสวนมะม่วง แต่ต่อมาหมอชีวกก็ได้ถวายสวนนี้ให้พระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลาย และได้ถวายตัวเป็นแพทย์ประจำพระองค์อีกด้วย ด้วยความที่เป็นคนบำเพ็ญแต่สิ่งที่ดีงาม ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วย ไม่เลือกฐานะ จึงได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่าเป็นเอตทัคคะ ในด้าน เป็นที่รักของปวงชน

  10. คุณธรรมของหมอชีวกโกมารภัจจ์คุณธรรมของหมอชีวกโกมารภัจจ์ 1. เป็นผู้ใฝ่รู้และมีความพากเพียรสูงยิ่งหมอชีวกโกมารภัจจ์เมื่อตั้งใจจะศึกษาวิชาใด ก็ได้พยายามหาทางให้ได้เรียนวิชานั้น2. เป็นอุบาสกที่ดี หมอชีวกโกมารภัจจ์มีความเคารพในพระพุทธเจ้าและยึดมั่นในพระรัตนตรัย 3. เป็นผู้เสียสละอย่างยิ่งและบำเพ็ญตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม หมอชีวกโกมารภัจจ์เป็นทั้งแพทย์หลวงแพทย์ประจำพระองค์ของพระพุทธเจ้า ขณะเดียวกันก็ยังต้องดูแลประชาชนอีกด้วย หาเวลาพักผ่อนได้ยาก

  11. จิตตคหบดี เป็นมหาอุบาสกคนสำคัญในสมัย พุทธกาล ถือกำเนิดในตระกูลของเศรษฐีที่ นครมัจฉิกาสณฑ์ แคว้นมคธ โดยท่านมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า จิตตกุมาร ที่แปลว่า กุมารผู้ยังให้เกิดความวิจิตร เพราะวันที่ท่านเกิดได้มีเหตุอัศจรรย์คือมีฝนดอกไม้ทิพย์ตกลงมาทั่วนคร วันหนึ่ง พระมหานามะ หนึ่งใน ปัญจวัคคีย์ ได้จาริกมายังนครมัจฉิกาสณฑ์จิตตคหบดีได้พบพระมหานามะจึงเกิดความเลื่อมใสจึงได้นิมนต์มายังเรือนของตนพร้อมกับถวายภัตตาหารเมื่อพระมหานามะฉันเสร็จจึงได้นิมนต์ท่านไปยัง สวนอัมพาฏกวัน หรือสวนมะกอกเพื่อถวายเป็นพระอารามในเวลาต่อมาจิตตคหบดีจึงได้บรรลุเป็น โสดาปัดติ

  12. คุณธรรมของจิตตคหบดี 1. มีสติปัญญา สามารถเข้าใจธรรมที่พระมหานามะและพระสารีบุตรแสดงให้ฟังจนบรรลุธรรมขั้นโสดาบันและอนาคามีตามลำดับ 2. มั่นคงในพระรัตนตรัย เมื่อประกาศตนเป็นอุบาสก ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงตลอดชีวิตแล้ว ได้ถวายสวนอัมพาฏกวันให้เป็นวัดและเป็นที่ทำบุญของคนในท้องถิ่นนั้น 3. มีอัธยาศัยโอบอ้อมอารี ชอบทำบุญ ใครๆจึงรัก ไปที่ไหนมีแต่คยให้การต้อนรับด้วยของกินของใช้ 4. เก่งในการพูดชี้แจงธรรม สามารถอธิบายหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย จนได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้าให้เป็นผู้ยอดเยี่ยมในด้านดัง

  13. จูฬสุภัททาล นางจูฬสุภัททา เป็นธิดาของเศรษฐีชื่อว่า อนาถบิณฑิก ชาวเมืองสาวัตถี แคว้นโกศล ซึ่งบิดาของนางเป็นผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและเคารพพระสงฆ์เป็นอย่างมาก ต่อมาเมื่อนางมหาสุภัททาแต่งงานมีครอบครัว หน้าที่การจัดเลี้ยงพระสงฆ์จึงตกแก่นางจูฬสุภัททาครั้งหนึ่งเพื่อนของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ชื่อว่า อุคคะเศรษฐีจึงได้ขอนางให้แต่งงานกับบุตรชายของตน และเนื่องจากเศรษฐีทั้งสองได้เคยสัญญากันไว้ว่าเมื่อมีบุตรธิดาก็จะให้แต่งงานกัน ซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีก็ยอมรับและตกลงยินยอมให้แต่งงานกัน เนื่องจากอุคคเศรษฐี มีความเลื่อมใสและนับถือศาสนาอื่นนอกจากพุทธศาสนา อนาถบิณฑกเศรษฐีจึงเรียกลูกสาวเข้ามาอบรมสั่งสอนด้วยหลักคำสอน 10 ประการ คราวหนึ่ง อุคคเศรษฐี ได้กระทำการมงคล จึงได้เชื้อเชิญพวกชีเปลือยมาทานอาหารที่บ้าน แล้วให้คนไปบอกแก่นางจูฬสุภัททาเพื่อให้มาไหว้พวกชีเปลือย พอนางเห็นพวกชีเปลือยนางก็ไม่ไหว้ อุคคเศรษฐีจึงโกรธนางมากและให้ภรรยาถามนางว่าสมณะที่นางนับถือเป็นอย่างไร นางจึงได้พรรณาคุณของพระพุทธเจ้าและเหล่าพระสาวกให้แม่สามีและคนอื่น ๆ ฟัง และเชิญพระพุทธเจ้ามาภวายมหาทานเป็นเวลา7วันทำให้ญาติฝ่ายสามีเลื่อมใส

  14. คุณธรรมของจูฬสุภัททาลคุณธรรมของจูฬสุภัททาล 1. เป็นผู้มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา 2. เป็นผู้ปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา 3. เป็นผู้กตัญญูต่อบิดามารดา

  15. สุมนมาลาการ สุมนมาลาการมีหน้าที่นำดอกทะลิวันละ8ทะนานไปถวานพระเจ้าพิมพิสานทุกเช้า แต่ในเช้าวันหนึ่งเขากำบัวจะนำไปถวายแต่เจอพระพุทธเจ้าเสด็จออกบิณฑบาต แล้วเกิดความเลื่อมใส ถึงแม้จะถูกพระราชาโกรธก็ตามเราก็จะบูชาพระพุทธเจ้า นายสุมนมาลาการได้เล่าให้ภรรยาฟัง ภารยาโกรธมากบอกนำความพินาศมาให่ตระกูล แล้วเข้าเฝ้าพระเจ้าพิมพิสารว่าตนไม่เห็นด้วย ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารเลื่อมใสในพนะพุทธเจ้าจึงบอกว่า หญิงนี้ไม่มีศรัทธา พระพุทธเจ้าทรงยกย่องนายสุมนมาลาการว่าเป็นมหาบุรุษ และประทานสิ่งของ8ชนิดอย่างละ8 มีช้าง ม้า ทาส ทาสี เครื่องประดับ นารี แล้วทรัพย์อีก8พัน กหาปณะ แล้วบ้านส่วย8ตำบล

  16. คุณธรรมของสุมนมาลาการ 1.เป็นผู้มีความศรัทธา 2.เป็นผู้มีสติปัญญา

  17. สุชีพ ปุญญานุภาพ เป็นชื่อที่เปลี่ยนหลังจากลาสิขาแล้ว เดิมชื่อ บุญรอด สงวนเชื้อ เป็นบุตรชายของนายอ่วม และนางทองคำ สงวนเชื้อเกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พศ.2460 หลังจากจบประถมศึกษา ได้บรรพชาสมาเณร ณ วัดสัมปทวน แล้วไปจำพรรษสที่วัดกันมาตุยาราม และไปศึกษาพระปริยัติธรรมที่สำนักวัดเทพศิรินทราวาส จบสอบเปรียญธรรม 7 ประโยค ต่อมาได้อุปสมบทและสอบเปรียรธรรม 9 ประโยค นอกจากนี้ท่านได้ใช้เวลาจากศาสนกิจศึกษาภาษาอังกฤษและภาษาสันสกฤตจากสวามีสัตยานันทบุรี นักปราชญ์ชาวอินเดีย จนเชี่ยวชาญ และสามารถแสดงธรรมเป็นภาษาอังกฤษแก่ชาวต่างชาติได้เป็นท่านแรก

  18. คุณธรรมของสุชีพ ปุญญานุภาพ 1. เป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน 2. เป็นผู้มีความตั้งใจจริง 3. เป็นผู้มีความขยันหมั่นเพียรในการศึกษาเล่าเรียน 4. เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

  19. เป็นชาวเมืองราชคฤห์ มีหน้าที่นำดอกมะลิวันละ 8 ทะนาน ไปถวายพระเจ้าพิมพิสารตอนเช้าทุกวัน ได้ค่าตอบแทนเป็นเงินวันละ 8 กหาปณะ เป็นชื่อที่เปลี่ยนหลังจากลาสิขาแล้ว เดิมชื่อ บุญรอด สงวนเชื้อ เป็นบุตรชายของนายอ่วม และนางทองคำ สงวนเชื้อเกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พศ.2460 มีบิดาชื่ออนาถบิณฑิก เป็นเศษฐี (ผู้สร้างวัด"เชตวัน" ถวาย)มีพี่น้อง ชาย 1 หญิง 2 เป็นชาวเมืองสาวัตถี แคว้นโกศล สหายของบิดาชื่ออุคคะ ขอนางเป็นลูกสะใภ้ สรุประวัติ เป็นมหาอุบาสกคนสำคัญในสมัย พุทธกาล ถือกำเนิดในตระกูลของเศรษฐีที่ นครมัจฉิกาสณฑ์ แคว้นมคธ วันที่ท่านเกิดได้มีเหตุอัศจรรย์คือมีฝนดอกไม้ทิพย์ตกลง เป็นบุตรของนางสาลวดี นครโสเภณีประจำเมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ สั่งให้สาวใช้เอาไปทิ้งพระราชโอรสของพระเจ้าพิมพิสารไปพบเข้าเป็นบุตรบุญธรรม ตั้งชื่อว่า ชีวก (แปลว่า ผู้ยังมีชีวิตอยู่)

  20. พระองค์ทรงทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4 กับ สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสติเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ 2396 ทรงเป็นพระราชโอราชในสมเด็จพระเจ้าปราสาททองกับพระอัครเทวี พระองค์เจ้าศิริราชกัลยา พระราชสมภพ ณ วันจันทร์ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ.2157 (จุลศักราช 994) อนาคาริก ธรรมปาละ เป็นราชธิดาของกษัตริย์ในแคว้นกุสินารา เมื่อเจริญวัยได้อภิเษกกับเจ้าชายพันธุละ หลังอภิเษกได้ไปอยู่กับพระเจ้าปเสนทิ เกิดวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2407 ที่เมืองโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา เดิมชื่อว่า ดอน เดวิด เววาวิตารเน ( Don DevidVewavitatne ) ใน พ.ศ. 2428

  21. สรุปคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างสรุปคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง

More Related