1 / 73

การออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ

การออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ. Patteera Thienpermpool. January 31, 2010. การออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ. http://pthienp.webs.com/researchblog.htm. Components of Ch.3. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

Download Presentation

การออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะการออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ Patteera Thienpermpool January 31, 2010

  2. การออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะการออกแบบวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ http://pthienp.webs.com/researchblog.htm

  3. Components of Ch.3 • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา • ขั้นตอนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ • วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้

  4. Components of Ch.3 • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา • ขั้นตอนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ • วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้

  5. ประชากรคืออะไร หน่วยทุกหน่วยหรือสมาชิกทั้งหมดที่มีลักษณะของสิ่งที่นักวิจัยต้องการศึกษาและนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้

  6. ตัวอย่างการเขียนบรรยายประชากรตัวอย่างการเขียนบรรยายประชากร • ประชากรคือนักเรียนชั้น... • ประชากรคือนักเรียนชั้น... โรงเรียน... • ประชากรคือนักเรียนชั้น... โปรแกรม... • ประชากรคือนักเรียนโรงเรียน...

  7. แบบฝึกการเขียนบรรยายประชากรแบบฝึกการเขียนบรรยายประชากร ชื่องานวิจัย: การพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง  ทักษะการเรียนสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ผู้วิจัย: รองศาสตราจารย์   ดร.ทวีศักดิ์     จินดานุรักษ์ ประชากรคือ นักเรียนระดับประถมศึกษา

  8. แบบฝึกการเขียนบรรยายประชากรแบบฝึกการเขียนบรรยายประชากร ชื่องานวิจัย:  ความเข้าใจในการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดปัตตานี ผู้วิจัย: เบญจมาศ กาฬสุวรรณ สาขา การประถมศึกษา ประชากรคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดปัตตานี

  9. แบบฝึกการเขียนบรรยายประชากรแบบฝึกการเขียนบรรยายประชากร ชื่องานวิจัย: การพัฒนาตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3ปีการศึกษา  2543โรงเรียนมัธยมศึกษา  สังกัดกรมสามัญศึกษา  อำเภอคีรีมาศ  จังหวัดสุโขทัย ผู้วิจัย: นายสุทัน    มณีวัลย์   และคณะ ประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3ปีการศึกษา  2543โรงเรียนมัธยมศึกษา  สังกัดกรมสามัญศึกษา  อำเภอคีรีมาศ  จังหวัดสุโขทัย จำนวน 4,772คน

  10. แบบฝึกการเขียนบรรยายประชากรแบบฝึกการเขียนบรรยายประชากร ชื่องานวิจัย: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนเชิงสร้างสรรค์  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  โรงเรียนชุมชนไมตรีอุทิศ  จังหวัดนนทบุรี  ที่เรียนโดยใช้และไม่ใช้แบบฝึกการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ผู้วิจัย: นายชนินทร     ศรีแล ประชากรคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6โรงเรียนชุมชนไมตรีอุทิศ  จังหวัดนนทบุรี

  11. ตัวอย่างประชากร • นักเรียนระดับประถมศึกษา • นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดปัตตานี • นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3ปีการศึกษา  2543โรงเรียนมัธยมศึกษา  สังกัดกรมสามัญศึกษา  อำเภอคีรีมาศ  จังหวัดสุโขทัย จำนวน 4,772คน • นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6โรงเรียนชุมชนไมตรีอุทิศ  จังหวัดนนทบุรี

  12. กลุ่มตัวอย่างคืออะไร ส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยนำมาศึกษาซึ่งเป็นตัวแทนของประชากร

  13. กลุ่มตัวอย่างที่ดีเป็นอย่างไรกลุ่มตัวอย่างที่ดีเป็นอย่างไร กลุ่มตัวอย่างที่ดีจะต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรเพื่อการอ้างอิงไปยังประชากรได้อย่างน่าเชื่อถือ = กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะต่างๆ ที่สำคัญที่เหมือนหรือมีลักษณะใกล้เคียงกลุ่มประชากรที่สุด

  14. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง (sampling)คืออะไร กระบวนการการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่มีความเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร

  15. สิ่งสำคัญในการเลือกกลุ่มตัวอย่างสิ่งสำคัญในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง • ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง • วิธีการเลือกตัวอย่าง

  16. วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างวิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง • ประชากรทุกคนเป็นกลุ่มตัวอย่าง **ใช้ในกรณีที่ประชากรมีขนาดเล็ก**

  17. วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างวิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง • กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับขนาดกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยที่คล้ายคลึงกัน

  18. วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างวิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง • กำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูป • ตารางหาขนาดตัวอย่างของ Taro Yamane • ตารางของ Krejcie and Morgan • ตารางหาขนาดตัวอย่าง ตามวิธีของ Chotedelok

  19. ตารางของ Krejcie and Morgan

  20. ตารางของ Krejcie and Morgan

  21. ตารางของ Krejcie and Morgan

  22. ตารางของ Krejcie and Morgan

  23. ตารางของ Krejcie and Morgan

  24. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคืออะไรเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคืออะไร เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือวัดผลในการวิจัย เพื่อตอบคำถามการวิจัย

  25. ประเภทของเครื่องมือการวิจัยประเภทของเครื่องมือการวิจัย • เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา • นวัตกรรม • สื่อ สิ่งประดิษฐ์ • เทคนิค วิธีการสอน แผนการสอน • เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล • แบบสอบถาม • แบบทดสอบ ฯลฯ

  26. เครื่องมือการวิจัย • เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล • - แบบสอบถาม • - แบบทดสอบ • - แบบประเมินความสามารถ ฯลฯ

  27. เครื่องมือวัดทางการศึกษา 9 ชนิด 1. แบบทดสอบ (Test) 2. มาตราส่วนประมาณค่า(Rating Scale) 3. แบบสอบถาม (Questionnaire) 4. แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)5. แบบวัดเจตคติ(Aptitude Test)

  28. เครื่องมือวัดทางการศึกษา 9 ชนิด (ต่อ) 6. แบบสังเกต (Observation)7. แบบสัมภาษณ์ (Interview)8. การจดบันทึก (Journal/Diary/Log) 9. Think aloud technique

  29. เครื่องมือวัดทางการสอนที่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมเครื่องมือวัดทางการสอนที่ไม่ค่อยเป็นที่นิยม การจดบันทึก (Journal/Diary/Log)Think aloud technique

  30. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 5.

  31. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 5. แบบสังเกต เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกต - แบบมีโครงสร้าง - checklist - rating scale - แบบไม่มีโครงสร้าง

  32. ตัวอย่างแบบสังเกตที่เป็น checklist

  33. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 5. แบบสังเกต เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกต - แบบมีโครงสร้าง - checklist - rating scale

  34. ตัวอย่างแบบสังเกตที่เป็น rating scale

  35. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 5. แบบสังเกต เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกต - แบบมีโครงสร้าง - checklist - rating scale - แบบไม่มีโครงสร้าง

  36. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 5. แบบสังเกต เหมาะกับการวิจัยเชิงบรรยาย/ทดลอง ข้อดี: เก็บกับข้อมูลโดยตรง ข้อเสีย: ถ้าผู้เข้าร่วมการวิจัยทราบว่าถูกสังเกตอาจทำให้ข้อมูลที่เก็บได้มีความคลาดเคลื่อน

  37. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 4. แบบสัมภาษณ์ 4.1 การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง 4.2 การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง 4.3 การสัมภาษณ์แบบโครงสร้าง

  38. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 4. แบบสัมภาษณ์ เป็นการหาข้อมูลจากการสนทนาอย่างมีความหมาย ข้อดี: ได้ข้อมูลละเอียด ลึกซึ้งมากกว่าแบบสอบถาม ข้อเสีย: ใช้เวลามาก

  39. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 3. แบบวัดเจตคติ (aptitude test) การวัดเจตคติเป็นการวัดความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งอาจเป็นการประเมินค่าสถานการณ์คุณลักษณะของสิ่งที่ประเมินว่าอยู่ในระดับใด หรือสนใจที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เจตคติสามารถวัดโดยตนเอง ผู้อื่น และกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมที่สร้างขึ้น สถานการณ์ต่าง ๆ เป็นต้น วิธีการวัดเจตคติ ได้แก่ การสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์ การใช้แบบวัด

  40. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 3. แบบวัดเจตคติ (aptitude test) เหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลด้านความคิดเห็น ความรู้สึก ใช้ในการประเมินค่าความรู้สึกหรือสะท้อความรู้สึกนึกคิด

  41. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 2. แบบสอบถาม (questionnaire) - แบบสอบถามปลายเปิด อาชีพของผู้ปกครอง ....................................................................................

  42. แบบสอบถาม - แบบสอบถามปลายปิด • แบบตรวจสอบรายการ (checklist)ผู้ตอบเลือกคำตอบเดียวจากตัวเลือกที่ให้มาในแบบสอบถาม หรือ เลือกหลายคำตอบจากตัวเลือก • แบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) ให้ผู้ตอบเลือกคำตอบที่ตรงกับความคิดเห็นของตน

  43. โครงสร้างแบบสอบถาม • คำชี้แจงในการตอบ • สถานภาพผู้ตอบ • ข้อคำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นที่เกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษา • ข้อเสนอแนะ • คำกล่าวขอบคุณ

  44. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 2. แบบสอบถาม (questionnaire) ไม่มีคำตอบถูกผิด สามารถตอบได้หลายประเด็น ข้อดี: เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก และรักษาความลับของแต่ละบุคคลได้ ผู้ตอบมีอิสระในการตอบคำถามได้เต็มที่

  45. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย 1.

  46. 5 อันดับของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกใช้ในงานวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในประเทศไทย • แบบทดสอบ เหมาะกับการเก็บข้อมูลด้านความรู้ ความสามารถในเชิงทฤษฎีหรือปฏิบัติ

  47. การเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลการเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล พิจารณาจากวัตถุประสงค์การวิจัยหรือคำถามการวิจัย

  48. ตัวอย่างการเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลตัวอย่างการเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล ชื่องานวิจัย: รายงานการทดลองใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน  เรื่อง  การอ่านประกาศรับสมัครงาน  วิชา  ภาษาอังกฤษอ่าน  เขียน (อ 025 ข)  ชั้นมัธยมปีที่  5 ผู้วิจัย: นางสุเพียง   อาญาพิทักษ์ 

  49. ตัวอย่างการเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลตัวอย่างการเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน เครื่องมือ: แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์

  50. ตัวอย่างการเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลตัวอย่างการเลือกเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล 2.เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูผู้ใช้ชุดการสอน เครื่องมือ: แบบสอบถาม สัมภาษณ์

More Related