1 / 13

การร้องเรียน การบริการ

การร้องเรียน การบริการ. กรณีการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล/ส่งเสริม ฯ - OP ผู้ป่วย UC - ผู้พิการ - กรณีฉุกเฉิน /อุบัติเหตุ - ฝากท้องครรภ์ที่ 3. ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขในระบบ UC.

akio
Download Presentation

การร้องเรียน การบริการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การร้องเรียน การบริการ • กรณีการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล/ส่งเสริม ฯ • - OP ผู้ป่วย UC • - ผู้พิการ • - กรณีฉุกเฉิน /อุบัติเหตุ • - ฝากท้องครรภ์ที่ 3

  2. ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขในระบบ UC • 1. ค่าสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ครอบคลุมบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่ให้โดยตรงแก่บุคคลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • 2. ค่าตรวจวินิจฉัยโรค ครอบคลุมบริการตรวจเพื่อการวินิจฉัย รวมทั้งการตรวจยืนยันกรณีความผิดปกติจากการตรวจคัดกรอง ตามข้อบ่งชี้การแพทย์ • 3. ค่าตรวจและรับฝากครรภ์ ครอบคลุมบริการตรวจและการบริบาลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ์ ตามแนวทางกรมอนามัย /องค์การอนามัยโรค

  3. 4. ค่าบำบัดและบริการทางการแพทย์ คลอบคลุมบริการดังนี้ • 4.1 การบำบัดและบริการทางเวชกรรม รวมทั้งบริการ • การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก • 4.2 การบำบัดทดแทนไตในการรักษาผู้ป่วยไตวาย • เรื้อรังระยะสุดท้าย ด้วยการล้างช่องท้อง หรือ • การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ** • 4.3 การบำบัดและบริการทางทันตกรรม ( การถอน • การอุด การขูดหินปูน การทำฟันปลอมฐาน • พลาสติก การรักษาโพรงประสาทฟันน้ำนม • การใส่เพดานเทียมในเด็กปากแหว่งเพดานโหว่

  4. 5. ค่ายา ค่าเวชภัณฑ์ ค่าอวัยวะเทียม และค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ ตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ โดยครอบคลุมยาตามกรอบบัญชียาหลัก และรวมบริการยาต้านไวรัสเอดส์สำหรับผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ • 6. ค่าทำคลอด ครอบคลุมการคลอดบุตร รวมกันไม่เกิน 2 ครั้ง กรณีที่บุตรมีชีวิตอยู่ • ค่ากินอยู่ในหน่วยบริการ ครอบคลุมการบริการอาหารและห้องผู้ป่วยสามัญ • 8.ค่าบริบาลทารกแรกเกิด

  5. ปกติ ภายในจังหวัด CUP B CUP A PP บอกระเบียบ / เก็บจากคนไข้ ปชช UC- B ปชช. UC-A OP ทีมีใบส่งตัว / พื้นที่พิเศษ / ผู้พิการ / ทหารผ่านศึก (ขั้นที่ 1-3 ) ** ให้เรียกเก็บระหว่างกัน ตามอัตราที่กำหนด ** ** CUP ต้องมีระบบให้ สอ.ส่ง ข้อมูลเพื่อไปเรียกเก็บ CUP อื่น ** รพ A รพ B เรียกเก็บ ผ่าน SUC กรณีไม่ใช้ OP ตามที่กำหนด ให้เรียกเก็บเงินจากคนไข้ด้วยราคาจริง เรียกเก็บ ผ่าน SUC สอ. A สอ. B IP บันทึกข้อมูลส่ง สกส. สปสช.จัดสรรเงินปกติ

  6. E / A ที่ไม่ใช่จากรถ CUP A CUP B OP ในจังหวัด ไม่ต้องมีใบส่งตัว ฉุกเฉิน ไม่เกิน 2 ครั้ง/ปี A ได้ทุกครั้ง ** ให้เรียกเก็บระหว่างกัน ตามอัตราที่กำหนด ** ** CUP ต้องมีระบบให้ สอ.ส่งข้อมูล การบริการ E / A เพื่อไปเรียกเก็บ CUP อื่น ** ปชช UC-A ปชช UC- B รพ A รพ B เรียกเก็บ ผ่าน SUC เรียกเก็บ ผ่าน SUC IP ** บันทึกข้อมูลส่ง สกส. สปสช.จัดสรรเงิน ** สอ. A สอ. B

  7. A จากรถ CUP A CUP B • OP ไม่ต้องมีใบส่งตัว • บอก / เรียกเก็บจากผู้ป่วย • ผู้ป่วยไปเบิกจาก ประกันตามพรบ. • ผู้ป่วยไปเบิกจากคู่กรณีกรณีไม่มีพรบ. ปชช UC-A ปชช UC- B รพ A รพ B เรียกเก็บ ผ่าน SUC เรียกเก็บ ผ่าน SUC IP ** ใช้สิทธิจาก พรบ. ก่อน ** ใข้สิทธิ UC หลังจากเกินพรบ. สปสช.จัดสรรเงินปกติ ** สอ. A สอ. B

  8. มติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการประชุมครั้งที่ 5 / 2551 เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2551 กำหนด“ มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการร้องเรียน เกี่ยวกับการเก็บค่าบริการ“

  9. 1.ให้ถือเป็นหน้าที่ของหน่วยบริการที่ต้องตรวจสอบสิทธิผู้รับบริการ1.ให้ถือเป็นหน้าที่ของหน่วยบริการที่ต้องตรวจสอบสิทธิผู้รับบริการ • 2. ห้ามเรียกเก็บค่าบริการห้ามชักจูงหรือโน้มน้าวให้ผู้รับบริการสละสิทธิรับบริการสาธารณสุขตามสิทธิ • 3. หากผู้รับบริการได้รับทราบสิทธิแต่ไม่มีความประสงค์จะใช้สิทธิรับบริการตามกฎหมายให้เขียนหนังสือแสดงเจตนาไม่ใช้สิทธิด้วยตนเองทั้งฉบับ • 4. การจัดให้ผู้รับบริการพักในห้องพิเศษโดยมิใช่ความต้องการของผู้รับบริการ (ขณะที่มีเตียง/ห้องสามัญว่างเพียงพอ ) ห้ามเก็บค่าบริการจากผู้รับบริการ ยกเว้นเป็นความประสงค์ของผู้รับบริการ ให้เก็บเงินเฉพาะค่าห้องส่วนที่เกินจากห้อง/เตียงสามัญได้

  10. 5. กรณีที่หน่วยบริการฝ่าฝืนมาตรการข้างต้น ให้ สปสช.หักค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการที่พึงได้รับไว้จำนวนหนึ่ง ตามที่ สปสช.กำหนดนอกเหนือจากเงินที่ต้องคืนให้ผู้รับบริการพร้อมดอกเบี้ยร้อยละสิบห้าต่อปีตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • 6. หนังสือแจ้งมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการร้องเรียนนี้ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาและข้อตกลงให้บริการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  11. เปรียบเทียบ การส่งข้อมูลผู้ป่วยในทันเวลา ไตรมาส 1 และ 2

  12. เปรียบเทียบ การส่งข้อมูลผู้ป่วยในไม่ทันเวลา ไตรมาส 1 และ 2

  13. เงินกองทุน IP 97.5 % เงินกองทุน IP 2.5 % ข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยในหลังจำหน่าย ส่งทัน ส่งไม่ทัน ไม่ส่ง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง แก้ไข และส่งทัน แก้ไขแล้ว ส่งไม่ทัน แก้ไข และส่งทัน แก้ไขแล้ว ส่งไม่ทัน ประมาณการ เงิน IP ที่ รพ. คาดว่าจะได้ รายรับIP จริง

More Related