1 / 18

บทที่ 7 รายรับ

บทที่ 7 รายรับ. รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วยท้ายสุด การหาค่า TR AR และ MR จากสมการอุปสงค์ การวัดค่า TR AR และ MR. 7.1 รายรับจากการผลิต (Revenue).

afram
Download Presentation

บทที่ 7 รายรับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 7รายรับ • รายรับจากการผลิต • ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ • ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วยท้ายสุด • การหาค่า TR AR และ MR จากสมการอุปสงค์ • การวัดค่า TR AR และ MR

  2. 7.1 รายรับจากการผลิต (Revenue) • รายรับจากการผลิต หมายถึง รายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายผลผลิตตามราคาที่กำหนดขึ้น • รายรับ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ • รายรับรวม (Total Revenue:TR) หมายถึงรายรับทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายสินค้าจำนวนต่างๆ ณ ระดับราคาขายต่างๆ ในตลาด • TR = P x Q • รายรับเฉลี่ย (Average Revenue: AR) หมายถึงรายรับทั้งหมดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย • AR =TR = PxQ = P Q Q • รายรับหน่วยท้ายสุด (Marginal Revenue: MR) หมายถึง รายรับทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงการขายสินค้าเพิ่มขึ้นอีก 1 หน่วย • MR = TR = TRn - TRn-1 Q

  3. 7.1 ลักษณะของเส้นรายรับต่าง ๆ • เส้นรายรับประเภทต่างๆ ขึ้นอยู่กับตลาดผลผลิตว่าเป็นตลาดผลผลิตประเภทใด • ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ • ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • ลักษณะตลาดที่สำคัญคือ มีผู้ซื้อผู้ขายจำนวนมากทำให้ผู้ขายแต่ละรายไม่มีอิทธิพลในการกำหนดราคาสินค้าที่ขาย ราคาสินค้าจะถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดและมีราคาเดียว • หาก P = 10 TR =P x Q = 10 x Q • AR = TR/Q = 10 • MR = TR/Q = 10Q/Q = 10

  4. ความสัมพันธ์ของ TR, AR และ MR

  5. ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ รายรับ TR 20 10 D=AR=MR=P Q 0 1 2

  6. ความสัมพันธ์ของ TR, AR และ MR 2. ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ • ในตลาดประเภทนี้ผู้ขายมีอิทธิพลในการกำหนดราคาสินค้า • ปริมาณการขายสินค้าและราคาสินค้ามีผลต่อกัน คือ ถ้าต้องการขายสินค้าได้ปริมาณมาก ต้องตั้งราคาต่ำแต่หากขายสินค้าปริมาณน้อย ราคาสินค้าจะสูงขึ้น

  7. ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ราคา, รายรับ 30 - TR 20 - 10 - AR Q 0 5 6 8 1 2 3 4 7 MR • เส้น TR เป็นเส้นโค้งรูปตัวยูคว่ำ เนื่องจากราคาขายไม่คงที่ • เส้น AR และ MR มีค่าเรื่อยๆ เมื่อปริมาณขาย • เส้น MR อยู่ต่ำกว่า AR เสมอ

  8. ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์(continuous function) ราคา, รายรับ TR AR MR ปริมาณผลผลิต (Q) 0 Q

  9. ความสัมพันธ์ระหว่าง TR และ MR เมื่อ Q TR MR เป็นบวก เมื่อ MR = 0  TR max เมื่อ MR เป็นลบ TR 7.3 ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วยท้ายสุด • ความสัมพันธ์ระหว่าง AR และ MR • เมื่อ AR คงที่ AR = MR • เมื่อ AR AR > MR ทุกๆ ปริมาณผลผลิต

  10. จากสมการอุปสงค์ Q = f (P) เช่น Q = 10-P P = 10-Q TR= P x Q = (10-Q) Q = 10Q-Q2 AR = TR = 10Q-Q2= 10-Q = P Q Q MR = dTR = 10-2Q (MR คือค่าความชันของ TR) dQ หากมีค่า Q ก็สามารถรู้ค่า TR, AR, MR ณ Q นั้นได้ 7.4 การหาค่า TR, AR และ MR จากสมการอุปสงค์ ที่ TR สูงสุด MR=0 เป็นปริมาณการผลิตใด? TR และ AR มีค่าเท่าใด? MR = 10-2Q 10-2Q = 0 2Q = 10 Q = 5 TR สูงสุด คือ TR = 10Q-Q2 = (10 x 5) - 52 = 50-25 = 25 และที่ Q = 5, AR = 10-5 = 5

  11. 7.5 การวัดค่า TR, AR และ MR 1. การวัดค่า TR วัดค่า TR จากเส้น TR รายรับ รายรับ TR E E A A TR Q Q 0 0 Q Q TR เมื่อ Q = OQ หน่วย = OA หน่วย

  12. วัดค่า TR จากเส้น AR สามารถหา TR จากเส้น AR โดยเอาค่า AR ณ ปริมาณที่ต้องการหา TR มาคูณด้วยปริมาณดังกล่าว จะได้พื้นที่ ซึ่งมีค่าเท่ากับ TR รายรับ รายรับ E E P P AR AR Q Q 0 0 Q Q TR = P  Q = (OP)  (OQ)   OPEQ

  13. วัดค่า TR จากเส้น MR สามารถหา TR จากเส้น MR โดย TR จะเท่ากับพื้นที่ใต้เส้น MR ณ ปริมาณที่ต้องการหา TR รายรับ รายรับ A E E A AR= MR AR MR 0 Q 0 Q Q Q TR เมื่อ Q = OQ หน่วย คือพื้นที่ใต้เส้น MR ที่ Q = OQ TR =  OAEQ

  14. หาค่า AR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นตรง รายรับ รายรับ 2. การหาค่า AR TR TR2 AR E TR1 Q Q 0 0 Q2 Q1 Q1 Q2 AR เป็นค่า slope ของเส้นที่ลากจาก origin มายัง TR ณ ปริมาณต่าง ๆ เช่น ที่ Q=OQ1หน่วย AR=TR1/OQ1 ที่ Q=OQ2หน่วย AR=TR2/OQ2 เนื่องจาก TR เป็นเส้นตรง slope ของเส้นที่ลากจาก origin ไปยัง TR มีค่า = slope TR และมีค่าคงที่ตลอด เมื่อสร้างเส้น AR จะได้เส้น AR เป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน

  15. หาค่า AR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นโค้ง รายรับ รายรับ B A TR E F AR Q Q 0 0 Q2 Q1 Q2 Q1 AR ได้จาก slope ของเส้นที่ลากจากจุดกำเนิดไปยัง TR เช่น Q = OQ1หน่วย AR=AQ1/OQ1 Q = OQ2หน่วย AR=BQ2/OQ2 ค่าของ AR จะเรื่อย ๆ

  16. หาค่า MR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นตรง 3. การหาค่า MR รายรับ รายรับ TR A MR TR1 Q 0 Q 0 Q1 Q1 MR เป็นค่า slope ของ TR คือ MR = TR/Q ที่ Q=OQ1หน่วย MR= slope TR ที่จุด A และไม่ว่าจะหา slope ที่จุดใดๆ บนเส้น TR ที่เป็นเส้นตรง จะได้เส้น MR ที่เป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน

  17. หาค่า MR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นโค้ง รายรับ รายรับ B A C TR 0 Q Q 0 Q1 MR เส้น TR เป็นเส้นโค้งมี slope ไม่คงที่ ที่ Q= OQ1หน่วย MR = slope ที่จุด A โดยค่า slope ของ TR จะลดลงเรื่อยๆ และหลังจาก slope เท่ากับ 0 ที่จุด B แล้ว ก็จะมีค่าติดลบ เช่นที่จุด C เมื่อนำมาสร้างเส้น MR ได้เส้น MR ที่ลดลงจากซ้ายไปขวา และมี slope = 0 ณ จุดตัดบนแกนนอน (Q=0) หลังจากนั้นค่า MR ติดลบ

  18. เมื่อ P ไม่คงที่ AR จะ หาก Qเรื่อยๆ MR จึง < AR ทุกระดับ Q เมื่อลากเส้น MR จากเส้น AR ที่มีค่าลดลง จะได้ MR แบ่งครึ่ง AR ทุกระดับ Q 4. การหาเส้น MR จากเส้น AR ที่มีค่าลดลง TR = P  Q เมื่อ P=OX และ Q=OQ1 TR = (OX)(OQ1) = OXYQ1 TR = OXDEQ1+DYE TR เป็นพื้นที่ใต้เส้น MR ณ Q=OQ1 TR = พื้นที่ OBDEQ1 TR = OXDEQ1+BXD BXD และ  DYE มีค่าเท่ากัน โดยมีมุมฉากและมุมตรงข้ามเท่ากัน XD = DY P B D Y X E AR MR Q 0 Q1 C

More Related