1 / 18

ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไร

ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไร. How to Control Anthracnose Disease of Mango for the Export ?. ตารางการส่งออกมะม่วงสดและผลิตภัณฑ์ในปี 2547-2549. ที่มา : นิรนาม,2549. การควบคุมโรคแอนแทรกโนสเพื่อส่งออก. 1. ควบคุมในแปลงปลูก 1.1 ใช้สารเคมี 1.2 วิธีกล

aerona
Download Presentation

ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไรควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไร How to Control Anthracnose Disease of Mango for the Export ?

  2. ตารางการส่งออกมะม่วงสดและผลิตภัณฑ์ในปี 2547-2549 ที่มา : นิรนาม,2549

  3. การควบคุมโรคแอนแทรกโนสเพื่อส่งออกการควบคุมโรคแอนแทรกโนสเพื่อส่งออก 1. ควบคุมในแปลงปลูก 1.1 ใช้สารเคมี 1.2 วิธีกล 2. ควบคุมหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต 2.1 ทางกายภาพ 2.2 โดยชีววิธี 2.3 การใช้สารสกัดจากพืช

  4. รูปร่าง และอาการของโรคแอนแทรกโนส setae ของเชื้อสาเหตุ Conidia ของเชื้อสาเหตุ ผลมะม่วงเป็นโรค รูปที่ 1 รูปร่างและอาการของแอนแทรกโนส ที่มา : ดัดแปลงจาก www.doae.co.th

  5. อุปสรรคใหญ่ในการส่งออกมะม่วงไทยอุปสรรคใหญ่ในการส่งออกมะม่วงไทย การเกิดโรค อาการ และผลกระทบ Infect ในแปลง ถูกปฏิเสธจากตลาดต่างประเทศ ผลสุก ขนส่ง วางจำหน่าย แสดงอาการ แผลลุกลามเน่าทั้งผล แผลกลม น้ำตาลเข้ม

  6. วิธีการควบคุมและป้องกันแอนแทรกโนสเพื่อส่งออกวิธีการควบคุมและป้องกันแอนแทรกโนสเพื่อส่งออก 1. ควบคุมและป้องกันในแปลงปลูก 1.1 ใช้สารเคมี รูปที่ 2 การฉีดพ่นด้วย benomyl, mancozeb, copper oxychloride และการใช้ถุงคาร์บอนห่อผล ที่มา :www.doae.co.thและ www.dailynews.co.th ตามลำดับ

  7. 1. ควบคุมและป้องกันในแปลงปลูก (ต่อ) 1.2 ใช้วิธีกล รูปที่ 3 การตัดแต่ง ทรงพุ่ม ที่มา : ดัดแปลงจาก www.pk-siam.com

  8. 2. ควบคุมและป้องกันหลังเก็บเกี่ยว 1. Hot water treatment 2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ นิยมแช่ที่ 49-55 ºc นาน 5-30 นาที ผ่านการแช่น้ำร้อน รูปที่ 4 การควบคุมและป้องกันหลังเก็บเกี่ยวทางกายภาพ ไม่แช่น้ำร้อน ที่มา : ดัดแปลงจาก www.extento.hawaii.edu และ www.caes.gov.twตามลำดับ

  9. 2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ (ต่อ) 2. Waxing and fruit coating รูปที่ 5 ผลมะม่วงที่ผ่านการเคลือบผล นิยมเคลือบparaffin โดยการจุ่ม เก็บได้นาน 42 วัน ที่มา : ดัดแปลงจาก www.doae.go.th

  10. 2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ (ต่อ) 3. Vapour heat treatment ขั้นตอนก่อนส่งออก จัดเรียงเข้าตู้อบไอน้ำร้อน ล้างด้วยน้ำคลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อ จัดเรียงก่อนเข้าตู้อบ ติดฉลากก่อนส่งออก ตู้อบไอน้ำร้อน นำออกจากตู้อบมาผ่านความเย็น รูปที่ 6 วิธีการที่ยอมรับมากที่สุดในการส่งมะม่วงไปญี่ปุ่น ที่มา : http://www.pk-siam.com/website/mart/fruits/mango/mango_agri.html

  11. 2.2 ควบคุมโดยชีววิธี 1. ใช้Gliocladium virens การทดสอบโดยปลูกเชื้อบนผลมะม่วง การทดสอบมะม่วงที่ติดเชื้อตามธรรมชาติ รูปที่ 7 การควบคุมโรคแอนแทรกโนสโดย G. virensบนมะม่วงที่ปลูกเชื้อ และผลที่ติดเชื้อตามธรรมชาติ ที่มา : จินันทนา และวิชชา(มปป.) ได้ผลดีถ้ามะม่วงมีการติดเชื้อในปริมาณน้อย เพราะเชื้อตัวนี้สามารถลดการเกิดโรค

  12. 2.2 ควบคุมโดยชีววิธี (ต่อ) 2. ยีสต์+ไคโตซาน รูปที่ 8 การเข้าทำลายเส้นใยและสปอร์ของColletotrichum gloeosporioidis โดย Candida sp. ที่มา : ปริญญา และคณะ(มปป.) การใช้ยีสต์Candida sp. สายพันธุ์ NS 9+0.5% ไคโตซาน ลดขนาดแผลดีที่สุด

  13. 2.2 ควบคุมโดยชีววิธี (ต่อ) 3. แบคทีเรีย รูปที่ 9 เปรียบเทียบวิธีผสมผสานกับวิธีอื่น ที่มา : Govender และคณะ(2005) การควบคุมโดยใช้กรรมวิธีผสมผสานได้ผลดีที่สุด โดยลดการเกิดโรคแอนแทรกโนสได้ดี

  14. 2.3 การใช้สารสกัดจากพืช สารสกัด รูปที่ 10 ประสิทธิภาพจากว่านน้ำ และโป๊ยกั๊ก ความเข้มข้น 10,000 มก./ล.ในการยับยั้งแอนแทรกโนส ที่มา : ผ่องเพ็ญ และคณะ(2542)

  15. สารสกัด(ต่อ) รูปที่ 11ประสิทธิภาพจากว่านน้ำ และโป๊ยกั๊ก ความเข้มข้น 10,000 มก./ล.ในการยับยั้งแอนแทรกโนส ที่มา : ผ่องเพ็ญ และคณะ(2542)

  16. 2.3 การใช้สารสกัดจากพืช (ต่อ) น้ำมันหอมระเหย ทดสอบการฉีดพ่นและอบไอระเหย ด้วยน้ำมันหอมระเหย ทดสอบการแช่ก่อนการปลูกเชื้อและหลังการปลูกเชื้อ รูปที่ 11 การเกิดโรคในมะม่วงที่ใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชควบคุม ที่มา:รวีวรรณ (มปป.)

  17. สรุป - ควบคุมตั้งแต่ในแปลงปลูก เพื่อลดการเข้าทำลายในช่วงออกผล - หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตต้องทำการควบคุมอีกครั้ง - ต้องลดการสารเคมีในการควบคุม เนื่องจากตลาดต่างประเทศปฏิเสธการรับซื้อ - ปัจจุบันการใช้เครื่องอบไอน้ำร้อน เป็นที่ยอมรับมากที่สุด - ควรมีการพัฒนา การใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์และน้ำมันหอมระเหยจากพืชมาใช้แทนสารเคมี

  18. โดย.... นางสาววรนันท์ คงจันทร์ อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. เสมอใจ ชื่นจิตต์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2

More Related