1 / 35

การเยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก จังหวัดแพร่

รายงานวิจัย. การเยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก จังหวัดแพร่. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่. ผู้วิจัย. กาญจณา เอกปัชฌาย์ ศรินยา พงศ์พันธุ์ โสภาวดี แสนศิริวงศ์. กิตติกรรมประกาศ. ขอขอบคุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดแพร่ รศ.พญ. ศิริกุล อิศรานุรักษ์

Download Presentation

การเยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก จังหวัดแพร่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานวิจัย การเยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก จังหวัดแพร่

  2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

  3. ผู้วิจัย กาญจณา เอกปัชฌาย์ ศรินยา พงศ์พันธุ์ โสภาวดี แสนศิริวงศ์

  4. กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดแพร่ รศ.พญ. ศิริกุล อิศรานุรักษ์ พญ.นันทวัลย์ ตันติธนวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ ประธาน คปสอ./ผอก.รพ./สสอ. ทุกอำเภอ จนท.รพ./สสอ./pcu/สอ. / ผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก

  5. หลักการและเหตุผล นโยบายส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เด็กมีแนวโน้มระดับสติปัญญาลดลง ข้อมูลเด็กมีพัฒนาการสมวัยแตกต่างกัน ปี 2548 ระบบรายงานปกติ ร้อยละ 99.57 วิจัยเชิงสำรวจ ร้อยละ 76.40 4. เจ้าหน้าที่ ไม่ค่อยออกพื้นที่/เยี่ยมบ้าน

  6. วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการคัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า เพื่อศึกษาสถานการณ์ภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 1-3 ปี เพื่อสร้างเครือข่ายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก

  7. งบประมาณ UC Community 1,208,200 บาท

  8. วิธีดำเนินการศึกษา รูปแบบ การวิจัยและพัฒนา (Research & Development) ระยะเวลาดำเนินการ มกราคม – ธันวาคม 2549 ประชากรที่ศึกษา เด็กอายุ 1-3 ปี จำนวน 8,528 คน

  9. วิธีดำเนินการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง เด็กอายุ 1-3 ปี /ผู้เลี้ยงดูเด็ก หลัก จำนวน 360 คู่ วิธีการสุ่มตัวอย่าง Systematic Random Sampling สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย SD. Chi -square test โปรแกรมSPSS For Windows

  10. กรอบแนวคิดในการศึกษา • จัดตั้งคณะกรรมการโครงการส่งเสริมสุขภาพและ พัฒนาการเด็ก • จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณากิจกรรมและฐานข้อมูล • จัดทำคู่มือการดำเนินงาน • จัดทำโปรแกรมฐานข้อมูลเด็ก เตรียมการ

  11. กรอบแนวคิดในการศึกษา • จัดอบรมสัญจรเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล/ศูนย์สุขภาพ • ชุมชน/สถานีอนามัย ให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก และการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล 300 คน • เยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และตรวจพัฒนาการเด็ก 2 ครั้ง • แก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า • จัดประชุมติดตามการดำเนินงาน และเสริมความรู้แก่เจ้าหน้าที่ 80 คน ดำเนินการวิจัย

  12. กรอบแนวคิดในการศึกษา • คปสอ.นิเทศ ศสช./สอ.ทุกแห่ง สุ่มประเมินพัฒนาการเด็กร้อยละ 10 จำนวน 842 คน • สสจ.ติดตาม สุ่มประเมินพัฒนาการเด็ก 30 แห่ง • /360 คน ติดตามงาน

  13. กรอบแนวคิดในการศึกษา • รายงานผลการดำเนินงานโดย คปสอ. • นำเสนอรายงานการวิจัย ประเมินผล

  14. เป้าหมาย • ประเมินการเจริญเติบโต • ประเมินพัฒนาการเด็ก • คัดกรองภาวะ Autistic • ตรวจฟัน • ติดตามการได้รับวัคซีน • ผู้ปกครองได้รับความรู้ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก • ติดตามการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก • บันทึกลงใน Family Folder • ติดตามรับยาเสริมธาตุเหล็ก เด็กอายุ 1-3 ปี จำนวน 8,528 คน (ร้อยละ 100) ได้รับบริการ

  15. ภาวะโภชนาการ โดย คปสอ.

  16. ตรวจคัดกรองพัฒนาการและ Autistic

  17. พัฒนาการสมวัย 5 ด้าน ประเมินครั้งที่ 1 จำนวนเด็กที่ตรวจทั้งหมด 7,834 คน

  18. พัฒนาการสมวัย 5 ด้าน ประเมินครั้งที่ 2 จำนวนเด็กที่ตรวจทั้งหมด 7,930 คน

  19. ผลผลิต (ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ) เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและคัดกรอง Autistic ร้อยละ 100 - ครั้งที่ 1 ร้อยละ 91.8 - ครั้งที่ 2 ร้อยละ 95.2 2. เด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ครบชุด ร้อยละ 100 - รายงาน ร้อยละ 98.0 - สำรวจ ร้อยละ 97.8

  20. ผลผลิต (ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ) 3. เด็กได้รับบริการตรวจสุขภาพฟัน ร้อยละ 100 - รายงาน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 93.6 - สำรวจ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 81.1 4. การบันทึกข้อมูลใน Family Folder ร้อยละ 100 - รายงาน ร้อยละ 93.5 - สำรวจ ร้อยละ 94.7

  21. ผลผลิต (ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ) 5. ผู้ปกครองเด็กได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ร้อยละ 100 - สำรวจ ร้อยละ 87.6 6. การใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละ 100 - รายงาน ร้อยละ 96.6 - สำรวจ บันทึกครบ ร้อยละ 48.2 - สำรวจ บันทึกไม่ครบ ร้อยละ 46.2

  22. 7. เด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการแก้ไขปัญหาและส่งต่อ ร้อยละ 90 - รายงาน ร้อยละ 100

  23. การแก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ของ คปสอ. จัดประชุม/สัมมนา เจ้าหน้าที่ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ/อบรมสัมมนาผู้ปกครองเด็ก จัดอบรมผู้ดูแลเด็กในศูนย์เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า สนับสนุนสื่อ/อุปกรณ์/ของเล่นส่งเสริมพัฒนาการ/หนังสือนิทาน/อาหารเสริม

  24. การแก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ของ คปสอ. ส่งต่อเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าพบแพทย์ รพช./รพท./สถาบันส่งเสริมพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ติดตามเยี่ยมบ้าน ติดตามและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จัดประกวดแบบอย่างสถานบริการ จัดประชุมคณะกรรมการสรุปผลการดำเนินงาน

  25. ผลการวิจัย โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เด็ก /ผู้เลี้ยงดูหลัก 360 คู่

  26. ลักษณะครอบครัว พ่อ - ประถมศึกษา ร้อยละ 36.7 - รับจ้าง ร้อยละ 51.6  แม่ - มัธยมศึกษา ร้อยละ 38.6 - รับจ้าง ร้อยละ 44.7 รายได้ครอบครัว < 10,000 บาท/เดือน ร้อยละ 65.0 เด็กอยู่กับคนอื่นที่ไม่ใช่พ่อแม่ ร้อยละ 20.6

  27. กราฟแสดงน้ำหนักต่ออายุกราฟแสดงน้ำหนักต่ออายุ

  28. กราฟแสดงส่วนสูงต่ออายุกราฟแสดงส่วนสูงต่ออายุ

  29. กราฟแสดงน้ำหนักต่อส่วนสูงกราฟแสดงน้ำหนักต่อส่วนสูง

  30. กราฟแสดงพัฒนาการเด็กอายุ 1-3 ปี ประเมินโดย สสจ.แพร่ (DSI)

  31. พัฒนาการ 5 ด้าน จังหวัดแพร่ กรมสุขภาพจิต การช่วยเหลือตัวเองและสังคม (PS) 87.8 85.8 กล้ามเนื้อมัดเล็ก (FM) 81.9 86.1 ความเข้าใจภาษา (RL) 88.3 88.3 การใช้ภาษา (EL) 88.6 93.1 การเคลื่อนไหว (GM) 93.6 97.5 รวม 5 ด้าน 66.7 73.1 ตารางเปรียบเทียบการประเมินพัฒนาการเด็ก อายุ 1-3 ปี โดยใช้แบบฟอร์ม

  32. กราฟเปรียบเทียบการประเมินพัฒนาการเด็ก ระหว่าง สสจ.กับพื้นที่

  33. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสมวัยของเด็กปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสมวัยของเด็ก ปัจจัยด้านครอบครัว - สถานภาพสมรส - รายได้ครอบครัว - ความเพียงพอของรายได้ - ความสัมพันธ์ในครอบครัว ปัจจัยด้านการเลี้ยงดูเด็ก - ของเล่นส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

  34. ข้อเสนอแนะ ควรจัดอบรมเจ้าหน้าที่ เรื่อง การแก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า คปสอ.ควรนิเทศการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก สร้างเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กให้เข้มแข็ง โดยบูรณาการกับคณะกรรมการ MCH Board

  35. สวัสดีค่ะ

More Related