1 / 34

โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ

ภาพรวมของแนวทางการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ในต่างประเทศและในประเทศ. โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ กำหนดแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนรองรับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี. โดย ผศ.ดร. ศิริโรจน์ ศิริสุขประเสริฐ. สิงหาคม 2554. หัวข้อการนำเสนอ.

adriel
Download Presentation

โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาพรวมของแนวทางการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนภาพรวมของแนวทางการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ในต่างประเทศและในประเทศ โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ กำหนดแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนรองรับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี โดย ผศ.ดร. ศิริโรจน์ ศิริสุขประเสริฐ สิงหาคม 2554

  2. หัวข้อการนำเสนอ • แนวทางการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนใน • ต่างประเทศ • ในประเทศ

  3. 1 แนวทางการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ในต่างประเทศ 3

  4. แนวทางการพัฒนาการใช้ไฮโดรเจนในต่างประเทศแนวทางการพัฒนาการใช้ไฮโดรเจนในต่างประเทศ

  5. ประเด็นขับเคลื่อนที่สำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาพลังงานจากไฮโดรเจนประเด็นขับเคลื่อนที่สำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาพลังงานจากไฮโดรเจน

  6. องค์ประกอบพื้นฐานของระบบพลังงานไฮโดรเจนและความท้าทายองค์ประกอบพื้นฐานของระบบพลังงานไฮโดรเจนและความท้าทาย 6

  7. ไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิง ที่มา: http://ec.europa.eu/research/rtdinfo/42/01/images/irma02_fr_1666_en.jpg 7

  8. เซลล์เชื้อเพลิง-ภาคคมนาคมเซลล์เชื้อเพลิง-ภาคคมนาคม การคาดการณ์ยอดจำหน่ายรถยนต์เซลล์เชื้อเพลิงขนาดเล็กต่อปีในตลาดทั่วโลก ในช่วงปี ค.ศ. 2015 ถึง 2020 [ที่มา: Pike Research, “Fuel Cell Vehicles: Passenger Vehicles, Medium and Heavy Duty Trucks, Transit Buses, Hydrogen ICEs, and Fueling, 2011] 8

  9. ส่วนประกอบเซลล์เชื้อเพลิงประเภท PEM Polymer Electrolyte Membrane หรือ Proton Exchange Membrane ที่มา: http://www.futureenergies.com/pictures/fuelcellpower.jpg

  10. ประสิทธิภาพของเซลล์เชื้อเพลิงประสิทธิภาพของเซลล์เชื้อเพลิง พลังงานความร้อน ประสิทธิภาพ 1 kg of H2 = 1 gal (3.8 L) Gasoline Energy Equivalent % hFCV > hICEV ~2-3 เท่า

  11. รถโดยสารเซลล์เชื้อเพลิงรถโดยสารเซลล์เชื้อเพลิง รถยนต์เซลล์เชื้อเพลิง ขนาดเซลล์เชื้อเพลิง 300 kW ขนาดเซลล์เชื้อเพลิง 100 kW

  12. เรือ-เครื่องบินเซลล์เชื้อเพลิงเรือ-เครื่องบินเซลล์เชื้อเพลิง บริษัท Proton Power Systems ประเทศเยอรมนี เรือดำน้ำ HDW214 ประเทศกรีซ Boeing manned airplane powered by hydrogen fuel cells เรือดูวาฬชื่อ ELDING เรือขนส่งสินค้า Viking Lady ที่มา: http://images.gizmag.com/gallery_lrg/9117_7040813516.jpg

  13. เซลล์เชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์เซลล์เชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์ Fuel Cells Forklifts ที่มา: http://www1.eere.energy.gov/hydrogenandfuelcells/education/pdfs/early_markets_forklifts.pdf

  14. ไฮโดรเจน-เครื่องยนต์สันดาบภายในไฮโดรเจน-เครื่องยนต์สันดาบภายใน (ก) ผลการทดสอบเปรียบเทียบระหว่างเครื่องยนต์ที่ใช้ CNG และ HCNG (ก) ปริมาณก๊าซไอเสียที่ปล่อยออกจากการเผาไหม้ (ข) แรงม้าและแรงบิดที่ได้ [ที่มา: National Renewable Energy Laboratory, “Development and Demonstration of Hydrogen and Compressed Natural Gas (H/CNG) Blend Transit Buses, 2005] (ข)

  15. เซลล์เชื้อเพลิง-ภาคการผลิตไฟฟ้าเซลล์เชื้อเพลิง-ภาคการผลิตไฟฟ้า Fuel Cells for Backup Power ที่มา: http://fuelcellsworks.com/news/wp-content/uploads/2009/10/electragenx.jpg

  16. Fuel Cells Power Plants ที่มา:http://www.g3powersystems.com

  17. เซลล์เชื้อเพลิงสำหรับ Energy Storage ที่มา: http://openlearn.open.ac.uk/

  18. เซลล์เชื้อเพลิงสำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กเซลล์เชื้อเพลิงสำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก MilleniumHydroPak Fuel Cell HydroFillHydroStick Fuel Cell by Horizon. Fuel cell batteries from LG Fuel cell batteries from SONY

  19. 2 แนวทางการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนในประเทศ

  20. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 20

  21. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 21

  22. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 22

  23. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน 23

  24. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน 24

  25. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน 25

  26. แนวทางการนำไฮโดรเจนไปใช้งานในกรณีที่เป็นการผลิตแบบรวมศูนย์แนวทางการนำไฮโดรเจนไปใช้งานในกรณีที่เป็นการผลิตแบบรวมศูนย์

  27. แนวทางการนำไฮโดรเจนไปใช้งานในกรณีที่เป็นการผลิตแบบกระจายแนวทางการนำไฮโดรเจนไปใช้งานในกรณีที่เป็นการผลิตแบบกระจาย

  28. ตัวอย่างการประเมินราคาไฮโดรเจนตัวอย่างการประเมินราคาไฮโดรเจน ที่มา: โครงการเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานรองรับการใช้ไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิงในภาคคมนาคมขนส่ง

  29. ตัวอย่างการประเมินราคาไฮโดรเจนตัวอย่างการประเมินราคาไฮโดรเจน ที่มา: โครงการเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานรองรับการใช้ไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิงในภาคคมนาคมขนส่ง

  30. แนวทางการผลิตและการใช้ไฮโดรเจนของประเทศไทยแนวทางการผลิตและการใช้ไฮโดรเจนของประเทศไทย

  31. แผนการวิจัยพัฒนา/ต่อยอดเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับไฮโดรเจนตลอดห่วงโซ่อุปทาน ระยะสั้น (ก่อนปี พ.ศ. 2560): ยังไม่มีการใช้ไฮโดรเจนอย่างเป็นทางการ • ศึกษาและทดสอบศักยภาพการผลิตไฮโดรเจนด้วยการแยกน้ำด้วยไฟฟ้าและใช้งานกับเครื่องยนต์สันดาบภายใน ประเด็นสำคัญที่มีการวิจัยและพัฒนาสำหรับเทคโนโลยีการใช้ไฮโดรเจนกับเครื่องยนต์สันดาบภายในที่สำคัญคือ • การหาสัดส่วนการผสมไฮโดรเจนกับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่เหมาะสมกับการใช้งานในปัจจุบัน • การพัฒนาวิธีการปรับแต่งเครื่องยนต์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยการทดสอบในห้องปฏิบัติการ • ทำการทดสอบการลดลงของไอเสียและประสิทธิภาพโดยรวมในห้องปฏิบัติการและการทดสอบในท้องถนนจริง • พัฒนาการผลิตและจัดเก็บไฮโดรเจนเชิงพาณิชย์ที่มีศักยภาพโดยใช้วัตถุดิบที่มีภายในประเทศ พร้อมมาตรการส่งเสริมผู้ประกอบการผลิตไฮโดรเจนที่มีอยู่แล้ว ดังเช่น • การผลิตไฮโดรเจนด้วยความร้อนเคมีจาก ชีวมวล และแก๊สชีวภาพ • การผลิตไฮโดรเจนด้วยกระบวนการอิเล็กโตรไลซิสด้วยไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทดแทน เช่น แสงอาทิตย์และพลังงานลม • การพัฒนาวัสดุและกระบวนการผลิตถังไฮโดรเจนอัดภายในประเทศ • สาธิตการใช้ไฮโดรเจนกับรถโดยสารในเมืองใหญ่ • วางโครงสร้างพื้นฐานการจัดส่งไฮโดรเจนให้เขตพื้นที่ที่มีการสาธิตการใช้ไฮโดรเจน • การประชาสัมพันธ์การใช้ไฮโดรเจนในบทบาทของพลังงานทดแทนในระบบคมนาคมและการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยมุ่งเป้าไปที่เรื่องความปลอดภัยเพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจที่ดีขึ้น

  32. แผนการวิจัยพัฒนา/ต่อยอดเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับไฮโดรเจนตลอดห่วงโซ่อุปทาน ระยะกลาง (ระหว่าง ปี พ.ศ. 2560 ถึง 2567): เริ่มมีการใช้ไฮโดรเจน ตามแผน • ส่งเสริมโดยการลดภาษีนำเข้ารถยนต์ที่ใช้ไฮโดรเจน • เพิ่มโครงการสาธิตการใช้งานไฮโดรเจนในหลายภาคส่วนและการขยายไปในหัวเมืองใหญ่ของแต่ละภาคของประเทศ • วางโครงสร้างพื้นฐานการจัดส่งไฮโดรเจนให้เขตพื้นที่ที่มีการสาธิตการใช้ไฮโดรเจน • ผลักดันกฎหมายที่เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมจากภาคคมนาคมขนส่ง ระยะยาว (หลังจาก ปี พ.ศ. 2567): ต่างประเทศมีการใช้ไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์ • ส่งเสริมการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศสำหรับ การผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่ใช้ไฮโดรเจนและ การผลิตชิ้นส่วนและการประกอบเซลล์เชื้อเพลิง • ส่งเสริมอุตสาหกรรมผลิตไฮโดรเจนและถังจัดเก็บไฮโดรเจนอย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริมในเรื่อง การลดภาษีนำเข้ารถยนต์ที่ใช้ไฮโดรเจน รวมถึงเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการผลิต • ส่งเสริมการส่งออกไฮโดรเจนสู่ประเทศในภูมิภาคอาเซียน

  33. ยุทธศาสตร์การพัฒนาไฮโดรเจนของประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาไฮโดรเจนของประเทศไทย

  34. สรุป • แนวทางการพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนใน • ต่างประเทศ • ประเทศไทย • ต่างประเทศ • ประเด็นขับเคลื่อนที่สำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาพลังงานจากไฮโดรเจน • องค์ประกอบพื้นฐานของระบบพลังงานไฮโดรเจนและความท้าทาย • การประยุกต์ใช้ไฮโดรเจน • ภาคคมนาคม: เซลล์เชื้อเพลิง และ เครื่องยนต์สันดาบภายใน • ภาคการผลิตไฟฟ้า • ประเทศไทย • แนวทางการผลิตและการใช้ไฮโดรเจนของประเทศไทย • แผนการวิจัยพัฒนา/ต่อยอดเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับไฮโดรเจน • ยุทธศาสตร์การพัฒนาไฮโดรเจน

More Related