1 / 49

430201 Engineering Statics

430201 Engineering Statics. (สถิตยศาสตร์วิศวกรรม). สรุปบทที่ 6/1. 6.1 โครงข้อหมุนอย่างง่าย ( simple truss ). โครงข้อหมุน (truss) เป็นโครงสร้างที่ได้มาจากการนำชิ้นส่วนที่ตรงและยาวหลายๆ ชิ้นมาเชื่อมต่อกันที่ปลายในรูปแบบที่เป็น สามเหลี่ยม. Roof truss. Bridge truss.

Download Presentation

430201 Engineering Statics

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 430201 Engineering Statics (สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)

  2. สรุปบทที่ 6/1 6.1 โครงข้อหมุนอย่างง่าย (simple truss) โครงข้อหมุน (truss)เป็นโครงสร้างที่ได้มาจากการนำชิ้นส่วนที่ตรงและยาวหลายๆ ชิ้นมาเชื่อมต่อกันที่ปลายในรูปแบบที่เป็นสามเหลี่ยม Roof truss Bridge truss

  3. สมมุติฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงข้อหมุนสมมุติฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงข้อหมุน • ชิ้นส่วนของโครงข้อหมุนถูกเชื่อมต่อกันด้วยหมุนที่ไร้แรงเสียดทาน • แรงกระทำภายนอกกระทำต่อโครงข้อหมุนที่จุดเชื่อมต่อเท่านั้น จากสมมุติฐาน: ชิ้นส่วนของโครงข้อหมุนจะเป็น Two-force member

  4. 3 kN 450 450 2 m 30o 30o Ax Ay Cy 2 m 2 m 6.2 วิธีการตัดจุดเชื่อมต่อ (method of joints) เมื่อโครงข้อหมุนอยู่ในความสมดุลแล้ว จุดเชื่อมต่อในโครงข้อหมุนจะอยู่ในความสมดุลด้วย ดังนั้น y FCB FCD 45o x C 30o 1.5 kN

  5. 6.3 ชิ้นส่วนที่มีแรงกระทำเป็นศูนย์ (zero-force members) ถ้า joint ของโครงข้อหมุนเกิดจากการเชื่อมต่อกันโดยชิ้นส่วนเพียง 2 ชิ้นและไม่มีแรงภายนอกหรือแรงปฏิกิริยากระทำที่ joint นั้น ชิ้นส่วนทั้งสองจะเป็น zero-force member ถ้า joint ของโครงข้อหมุนเกิดจากการเชื่อมต่อกันโดยชิ้นส่วน 3 ชิ้น โดยที่ 2 ใน 3 ของชิ้นส่วนเหล่านั้นอยู่ในแนวเดียวกัน และเมื่อไม่มีแรงกระทำที่ jointนั้น ชิ้นส่วนที่เหลือจะเป็น zero-force member

  6. Start of the Lecture 13

  7. 6.4 วิธีการตัดหน้าตัด เมื่อโครงข้อหมุนอยู่ในความสมดุลแล้ว ส่วนของโครงข้อหมุนจะอยู่ในความสมดุลด้วย ดังนั้น จาก FBD และเงื่อนไขความสมดุลของส่วนของโครงข้อหมุน ซึ่งสามารถใช้หาแรงภายในชิ้นส่วนโครงข้อหมุนได้สามค่า ดังนั้น ส่วนของโครงข้อหมุนที่ถูกตัดจะมีจำนวนแรงที่ไม่ทราบค่าได้ไม่เกิน 3 ค่า

  8. ถ้าต้องการหารแรงภายในชิ้นส่วน ED เราควรทำอย่างไร??? เราควรใช้ FBD ของส่วนใดของในการหาแรงภายในชิ้นส่วน ED?

  9. ขั้นตอนในวิเคราะห์ ขั้นตอนในวิเคราะห์ • เขียนแผนภาพ FBD ของโครงข้อหมุน และหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ • เขียนแผนภาพ FBD ของส่วนของโครงข้อหมุนที่มีจำนวนของแรงที่ไม่ทราบค่าไม่เกินสามแรง • เขียนสมการสมดุลของแรงและโมเมนต์ และแก้สมการหาค่าของแรงที่ไม่ทราบค่า จากนั้น ตรวจสอบความถูกต้องของทิศทางของแรงที่ได้

  10. EXAMPLE จงหาแรงในชิ้นส่วน GE, GC, BC ของโครงข้อหมุน G E 400 N 3 m A D B C 4 m 4 m 4 m 1200 N

  11. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน G E 400 N 3 m A Ax D B C 4 m 4 m 4 m Dy Ay 1200 N

  12. G E 400 N Ax 3 m A D B C 4 m 4 m 4 m Dy Ay 1200 N 2. สมการความสมดุลของโครงข้อหมุน

  13. a G E 400 N 3 m A D B C a 4 m 4 m 4 m 1200 N y x 3. วิธี method of section FGE G FGC 400 N A FBC B 300 N

  14. 800 N G 5 3 FGC 400 N 4 A A 800 N B 300 N FGE G FGC 400 N A C 800 N B 300 N

  15. สรุป 800 N G 5 3 500 N 400 N 4 A A 800 N B 300 N

  16. 20 kN 20 kN 40 kN 30 kN C D E F B 4 m A G J I H 4@ 4m = 16 m ตัวอย่างที่ 6-2 สำหรับ Howe Bridge Truss ดังแสดงจงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน DE, EH, และHG

  17. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน 20 kN 20 kN 40 kN 30 kN C D E F B 4 m A Ax J I G H Ay Gy 4@ 4m = 16 m

  18. 20 kN 20 kN 40 kN 30 kN C D E F B 4 m A Ax J I G H Ay Gy 4@ 4m = 16 m 2. สมการความสมดุลของโครงข้อหมุน

  19. 20 kN 20 kN 40 kN 30 kN 3. วิธี method of section a C D E F B 4 m A a J I G H 65 kN 4@ 4m = 16 m 45 kN 40 kN E F FDE 4 m FEH H G FHG 45 kN

  20. 40 kN E F FDE 4 m FEH H G FHG 45 kN

  21. ตัวอย่างที่ 6-4 จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน GHBC และ BG ของโครงข้อหมุน ระบุด้วยว่าแรงดังกล่าวเป็นแรงกดอัดหรือแรงดึง 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน ในการหาแรงในชิ้นส่วน เราจะใช้การตัด truss ดังแสดง และเราควรใช้ FBD ของส่วนไหนของ truss?

  22. 2. สมการความสมดุลของโครงข้อหมุน

  23. 3. วิธี method of section เราควรใช้สมการความสมดุลสมการใดเป็นสมการแรก?

  24. ตัวอย่างที่ 6-5 จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน EF และ EL ของโครงข้อหมุน ระบุด้วยว่าแรงดังกล่าวเป็นแรงกดอัดหรือแรงดึง 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน ในการหาแรงในชิ้นส่วน เราจะใช้การตัด truss ดังแสดง และเราควรใช้ FBD ของส่วนไหนของ truss?

  25. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน Ax Ay Iy 2. สมการความสมดุลของโครงข้อหมุน  Fx = Ax = 0 เนื่องจากโครงข้อหมุนสมมาตร Ay = Iy = 36 kN

  26. 3. วิธี method of section: หาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน EF เราควรใช้สมการความสมดุลสมการใด ในการหา FEF?

  27. 4. วิธี method of joint: หาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน EL

  28. EXAMPLE จากรูป จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนDE, DL, และML

  29. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน Ax Ay Iy 2. สมการความสมดุลของโครงข้อหมุน  Fx = Ax = 0 เนื่องจากโครงข้อหมุนสมมาตร Ay = Iy = 36 kN

  30. + MD = 0; – 36 (8) + 6 (8) + 12 (4) + FML (5) = 0 FML = 38.4 kN ( T ) 3. วิธี method of section D จาก FBD เราจะเริ่มพิจารณาที่จุดใด?

  31. +ML= 0; –36 (12) + 6 (12) + 12 (8) + 12 (4) –FDE ( 4/17)(6) = 0 FDE = –37.11 kN หรือ 37.1 kN (C) • +  Fx = 38.4 + (4/17) (–37.11) + (4/41) FDL = 0 FDL= –3.84 kN หรือ 3.84 kN (C)

  32. EXAMPLE จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน BE หรือ FEB 1000 N 1000 N 3000 N 1000 N E F D 30o C B A 2 m 2 m 2 m 2 m 2000 N 4000 N

  33. y x วิธี method of section 1000 N 1000 N 3000 N 1000 N a b b E F D 30o C B A a 2 m 2 m 2 m 2 m 2000 N 4000 N จากรูป แนวตัดทั้งสองไม่สามารถนำมาหาแรง FEBได้โดยตรง แต่ต้องใช้แนวตัด a-a หาแรง FEDจากนั้น ใช้ method of joint เพื่อหาแรง FEB

  34. a E F D C B A a โดยใช้แนวตัด a-a หาแรง FED 1000 N 3000 N 1000 N E FED F 30o FFB FEB C B A FAB 2 m 2 m จาก FBD เราจะหา FEDได้อย่างไร? 4000 N

  35. เนื่องจากจุด Bมีแรงสามแรงกระทำร่วมกัน เราสามารถใช้ ∑MBเพื่อกำจัดตัว unknowns ทั้งสามออกได้ 1000 N และเนื่องจากแรงเป็น sliding vector เราย้ายแรง FEDมากระทำที่ Cได้ 3000 N 1000 N E FED F FED cos 30o 30o FFB FEB C B A FAB FED sin 30o 2 m 2 m 4000 N

  36. วิธี method of joints y 1000 N E x 30o 30o FEF 3000 N FEB

  37. EXAMPLE จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน LD, LK, CD และ KD 50 kN 50 kN 50 kN M N I K J L H 4 m G A B E F C D 6@ 3m = 18 m

  38. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุน 50 kN 50 kN 50 kN M N I K J L H 4 m G Ax B A E F C D 6@ 3m = 18 m Ay Gy

  39. 3. วิธี method of section 50 kN 50 kN 50 kN a M N I K J L H 4 m G B A E F C D a 6@ 3m = 18 m 100 kN 50 kN

  40. FBD - Section Cut 50 kN 50 kN 50 kN a M N L FLK 4 m FLD D B A FCD C a 100 kN

  41. 50 kN K FKJ FLK FCD

  42. EXAMPLE จงหาแรงที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน BC, CG, และ GF 800 lb 500 lb 500 lb 10 ft 10 ft C D B 10 ft F G E A

  43. y x 1.เขียน FBD ของโครงข้อหมุนและใช้สมการความสมดุล 10 ft 10 ft 500 lb 500 lb C D B 10 ft F G E A 900 lb 900 lb

  44. 2. วิธี method of section 10 ft 10 ft 500 lb 500 lb a C D B 10 ft F G E a A 900 lb 900 lb

  45. 500 lb C a B FBC FCG 10 ft FGF G a A 900 lb

  46. End of the Lecture 13

More Related