1 / 23

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นพ.สถาพร วงษ์เจริญ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 17 มิถุนายน 2553. ทำไมจึงต้องกระจายอำนาจ?. 1. พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) พ.ศ. 2542 มาตรา 30, 32 และ 35.

adonis
Download Presentation

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกระจายอำนาจด้านสุขภาพให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการกระจายอำนาจด้านสุขภาพให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นพ.สถาพร วงษ์เจริญ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 17 มิถุนายน 2553

  2. ทำไมจึงต้องกระจายอำนาจ?ทำไมจึงต้องกระจายอำนาจ? 1

  3. พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) พ.ศ.2542 มาตรา 30, 32 และ 35 แผนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ.2543 แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. 2545 การถ่ายโอนภารกิจสาธารณสุข ให้แก่ อปท. ภายใน 4 ปี / ให้แล้วเสร็จใน 10 ปี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 3

  4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ม.78 (3) หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น ม.281-283 แผนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. (ฉบับที่ 2) การถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้แก่ อปท. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 4

  5. หลักการกระจายอำนาจ 1. มุ่งประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 2. มุ่งระบบที่มีความยืดหยุ่น 3. มุ่งระบบที่พลวัต 4. มุ่งระบบที่มีส่วนร่วม

  6. ลักษณะการจัดบริการสาธารณะลักษณะการจัดบริการสาธารณะ 1 อปท.เป็นผู้เป็นผู้ซื้อบริการ 2 อปท.ดำเนินการร่วมกับส่วนกลาง/ภูมิภาค 3 อปท.ดำเนินการเองบางส่วน 4 อปท.ดำเนินการทั้งหมด

  7. แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) * ถ่ายโอน สอ. ไป อบต./เทศบาล ไม่พร้อมไป อบจ. * รพช./รพท. รูปแบบหลากหลาย * รพศ. ไม่ถ่ายโอนก็ได้ 7

  8. การดำเนินงานถ่ายโอนภารกิจสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการดำเนินงานถ่ายโอนภารกิจสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ถ่ายโอนตามมติ กกถ. 35 แห่ง ดำเนินการได้ 28 แห่ง 2. อปท. 364 แห่ง ใน 45 จังหวัด ขอรับการถ่ายโอน สอ. 501 แห่ง 3. อบจ.&สสจ.&ปชช. ศึกษาการจัดบริการด้านสาธารณสุข 26 จังหวัดต้นแบบ 4. การศึกษารูปแบบที่เหมาะสมสำหรับบริหารระบบบริการสาธารณสุข ในระยะข้างหน้า 8

  9. วิธีการการยื่นประเมินความพร้อม อปท. อปท. ได้รับความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่น ส่งใบสมัครขอรับการประเมินต่อ สสจ. ก่อนปีงบประมาณใหม่ 180 วัน ( ก่อน 3 เมษายน) คณะอนุกรรมการส่งเสริมการถ่ายโอนฯ ระดับจังหวัด พิจารณาและดำเนินการ คณะทำงานประเมินฯประเมินความพร้อม อปท. ภายใน 20 วัน นับแต่วันยื่นคำขอ ประเมินให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน แจ้งผลการประเมิน อปท.และรายงานผลต่อกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขพิจารณาอนุมัติแจ้งส่วนภูมิภาค พร้อมมอบอำนาจ นพ.สสจ. ภายใน 30 วัน คณะอนุกรรมการฯ จังหวัด โดย เลขานุการ (สสจ.) แจ้ง อปท.ที่ได้รับการอนุมัติ กำหนดวันและเวลาดำเนินการ โอนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด

  10. ผ่านเกณฑ์ การประเมิน ความพร้อม ๑ ๒ ความสมัครใจของบุคลากรในสอ. หลักเกณฑ์การถ่ายโอน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10 10

  11. อบจ.&สสจ.&ปชช. ศึกษาการจัดบริการด้านสาธารณสุข 26 จังหวัดต้นแบบ • กระบวนการ • ตั้งคณะอนุกรรมการประสานความร่วมมือการกระจายอำนาจ • ด้านสาธารณสุข ระดับจังหวัด • คณะอนุกรรมการฯ พิจารณารูปแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัด • 5 รูปแบบ • ดำเนินการตามรูปแบบที่เลือก • รายงานผลให้นายกรัฐมนตรี ทราบ ทุก 6 เดือน 11

  12. รูปแบบการกระจายอำนาจด้านสุขภาพรูปแบบการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ของสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดร่วมกับคณะอนุกรรมการการกระจายอำนาจฯ • ถ่ายโอนให้ อบต.หรือเทศบาล ตามรูปแบบเดิมที่กำหนดในแผนปฏิบัติการ 1และฉบับที่ 2 โดยทั้ง อบต.หรือเทศบาลและสอ.รวมทั้งกรรมการการกระจายอำนาจเห็นพ้องร่วมกัน

  13. 2. ถ่ายโอน สอ. โดยรวมกลุ่ม สอ.ทั้งจังหวัดหรือ สอ.บางอำเภอ หรือบางกลุ่มและถ่ายโอนไปให้ อบจ. โดยมีกรรมการบริหารสถานีอนามัย ในระดับจังหวัด มีนายก อบจ.เป็นประธาน มีนักบริหารมืออาชีพด้านสาธารณสุขมาเป็นผู้บริหาร/จัดการภายใต้นโยบายของคณะกรรมการ และมีคณะกรรมการมาจากหลายภาคส่วนฯ ร่วมดำเนินการ

  14. 3. สอ.และรพช.หรือรพท. รวมกันกลุ่มเป็นเครือข่ายบริการ หรือพวงบริการไปขึ้นต่อคณะกรรมการบริหารในระดับ จังหวัด โดยมีนายก อบจ.เป็นประธานคณะกรรมการ มีกรรมการมาจากหลายภาคส่วน

  15. 4. สอ.หลายแห่งรวมกันเป็นกลุ่ม หรือ สอ.และโรงพยาบาล รวมกันเป็นเครือข่ายหลายเครือข่ายแล้วกลุ่มหรือกลุ่ม เครือข่ายบริการ (รวม สอ.หรือ รพช.)ไปขึ้นต่อ คณะกรรมการบริหาร แต่คณะกรรมการบริหารนี้ พัฒนาเป็น องค์กรมหาชน หรือหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (Service delivery Unit)

  16. 5. รูปแบบอื่นๆ ที่สอดคล้องและเป็นไปตาม ปรัชญาการกระจายอำนาจตามพรบ. กำหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ (ถ้าเหตุและปัจจัยในเวลานั้นกำหนดเช่นนี้ หรือ มีการแก้กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจ)

  17. ผลดีการกระจายอำนาจ 1) เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ (Participation) 2) ตอบสนองต่อปัญหาความต้องการของชุมชน (Responsiveness) 3) เป็นการตัดสินใจและการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น 4) เป็นเงื่อนไขการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล (Goodgovernance)

  18. ผลกระทบการกระจายอำนาจผลกระทบการกระจายอำนาจ ด้านการเมือง ความไร้เอกภาพและเสถียรภาพ ด้านการคลัง การกระจายอำนาจมากไป - ความไร้เสถียรภาพ ด้านความเสมอภาค การกระจายอำนาจมากไป-ความแตกต่าง/ไม่เท่าเทียมกัน

  19. ข้อเสนอรูปแบบการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. (ฉบับที่ 3)ด้านการถ่ายโอนภารกิจ หลักการ 1. มีการดำเนินงานกระจายอำนาจให้ อปท.เฉพาะภารกิจบริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) 2. รูปแบบการกระจายอำนาจ เริ่มจากการดำเนินงานและตัดสินใจร่วมกันในแบบคณะกรรมการไตรภาคี (ปชช./อปท./หน่วยงานรัฐ) 3. บริหารงบประมาณ (PP,กองทุนตำบล ฯ) ร่วมกัน เพื่อพัฒนาสุขอนามัยของประชาชนเป็นอันดับแรก , บุคลากร , ทรัพยากร

  20. แนวทางการดำเนินงาน 1. ใช้แนวทางบริหารของ รพ.สต. มี คณะกรรมการบริหารจัดการ ระดับจังหวัด ระดับพื้นที่ 2. คณะกรรมการ = ปชช./อปท./สาธารณสุข จำนวนที่เท่ากัน ระดับจังหวัดเป็นองค์กรกำกับ ดูแลการดำเนินงานคณะกรรมการระดับตำบล ระดับพื้นที่เป็นองค์กรดำเนินงานด้านบริหารจัดการระบบสุขภาพ และงบประมาณ ระดับตำบล

  21. แนวทางการดำเนินงาน 3.คณะกรรมการระดับพื้นที่ ใช้แนวทางจัดตั้งกรรมการ รพ.สต.ร่วมกับแนวทางรูปแบบการกระจายอำนาจ 4. การจัดบริการสุขภาพระดับพื้นที่ คณะกรรมการระดับพื้นที่มีอำนาจตัดสินใจ & บริหารงบประมาณ 5. จังหวัดหรือระดับพื้นที่ดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลต่อการพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชน ก็ให้ดำเนินงานถ่ายโอนหน่วยงาน/ทรัพยากรให้ อปท.ในพื้นที่ได้ ภายใต้การตัดสินใจของคณะกรรมการ

  22. ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. ระดมความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สมาคมหมออนามัย , ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย , ชมรม ผอ.รพช. , ชมรมแพทย์ชนบท , ชมรม นพ.สสจ. , ชมรม ผอ.รพท./รพศ. และประชาชน โดยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานหลัก/ประมวลข้อคิดเห็น 2. ปรับร่างหลักการ รูปแบบการดำเนินงาน (ครั้งที่ 1) 3. ปรับร่างหลักการ รูปแบบการดำเนินงาน (ครั้งที่ 2) 4. จัดทำรูปแบบ แนวทาง เสนอผู้บริหาร พิจารณาอนุมัติ โดยคณะอนุกรรมการ ฯ รมว.สธ. ประธาน 5. เสนอ ข้อเสนอ รูปแบบ แนวทางการดำเนินงาน ต่อ กกถ. สู่ แผนปฏิบัติการฯ ฉบับที่ 3

  23. สวัสดี

More Related