1 / 32

โครงการส่งเสริม การใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยระบบผสมผสานปีที่ 2

โครงการส่งเสริม การใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยระบบผสมผสานปีที่ 2. บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เอ็นโซล จำกัด. Out line. ความเป็นมาของโครงการ คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯ หลักเกณฑ์การสนับสนุนฯ เงื่อนไขการดำเนินงาน ขั้นตอนการสนับสนุน ร่างแบบขอรับการสนับสนุน.

admon
Download Presentation

โครงการส่งเสริม การใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยระบบผสมผสานปีที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการส่งเสริมการใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานปีที่ 2 บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เอ็นโซล จำกัด www.themegallery.com

  2. Out line • ความเป็นมาของโครงการ • คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯ • หลักเกณฑ์การสนับสนุนฯ • เงื่อนไขการดำเนินงาน • ขั้นตอนการสนับสนุน • ร่างแบบขอรับการสนับสนุน

  3. ความเป็นมา

  4. วัตถุประสงค์ของโครงการฯวัตถุประสงค์ของโครงการฯ สถานการณ์ปัจจุบัน • กิจการต่างๆ ที่มีความจำเป็นในการใช้น้ำร้อนในกระบวนการผลิตหรือการบริการ • การใช้พลังงานอย่างไม่เหมาะสมและต้นทุนการผลิตน้ำร้อนสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนใหญ่มีการต้มโดยใช้พลังงานสิ้นเปลือง วัตถุประสงค์ • เพื่อให้มีการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ผลิตน้ำร้อนในกิจการธุรกิจภาคต่างๆ • เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการลงทุนใช้ระบบผลิตน้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์อย่างแพร่หลาย

  5. ระยะเวลาโครงการ 15 เดือน(มกราคม 2551 ถึง เมษายน 2552) • ผู้สนใจสามารถยื่นใบสมัครได้ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 หรือจนกว่าเงินสนับสนุนจะหมด (ผู้สนใจที่ยื่นใบสมัครไม่ทันกำหนด สามารถยื่นใบสมัครต่อได้ โดยจะนำใบสมัครมาพิจารณาในโครงการในปีต่อไป)

  6. รูปแบบโครงการฯ การสนับสนุนการศึกษาความเป็นไปได้ และการออกแบบเบื้องต้น สนับสนุนการศึกษา และออกแบบสำรวจเบื้องต้น สำหรับผู้ประกอบการที่เข้าหลักเกณฑ์ การสนับสนุนเพื่อการลงทุน สนับสนุนเงินลงทุนแบบให้เปล่า สำหรับ สถานประกอบการ และโครงการที่มี คุณสมบัติผ่านเกณฑ์

  7. ผลที่จะได้รับ (พ.ศ.2551-2554) • สนับสนุนการลงทุนติดตั้งระบบทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ • เป็นพื้นที่ Solar Collecterไม่น้อยกว่า 5,000 ตร.ม. • สามารถทดแทนการใช้น้ำมันไม่น้อยกว่า 5 ktoe/ปีในปี 2554 เป้าหมาย • ให้การสนับสนุนและส่งเสริมสำหรับกิจการที่ใช้น้ำร้อนเป็นวัตถุดิบ เช่น โรงแรม โรงพยาบาล • โรงงาน อาคารธุรกิจ เป็นต้น • สนับสนุนศึกษา Pre Feasibility Study และ Preliminary Design • สนับสนุนค่าลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ไม่เกิน30 %

  8. การสัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นการสัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น • วันสัมมนา: วันพุธที่ 2 เมษายน 2551 • สถานที่: โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์

  9. การประชาสัมพันธ์โครงการครั้งที่ 1 • วันที่ 23 เมษายน 2551 • สถานที่: โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์

  10. การประชาสัมพันธ์โครงการครั้งที่ 2 • วันที่ 25 เมษายน 2551 • สถานที่: โรงแรมเมอร์ริออตหัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์

  11. คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯคุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯ

  12. คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนคุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุน • เป็นกิจการ โรงแรม โรงพยาบาลหรืออาคารธุรกิจหรือโรงงานที่ใช้น้ำร้อนในการผลิตหรือการให้บริการและมีความประสงค์จะใช้ระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสาน • มีความพร้อมในการลงทุนในเทคโนโลยีพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานโดยรวม และต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงซึ่งเป็นผู้มีอำนาจลงนาม ในการยืนยันเข้าร่วมโครงการ • เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย

  13. หลักเกณฑ์การสนับสนุนฯหลักเกณฑ์การสนับสนุนฯ

  14. หลักเกณฑ์การสนับสนุนลงทุนหลักเกณฑ์การสนับสนุนลงทุน • ต้องเป็นระบบทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมผสานกับความร้อนเหลือทิ้ง เช่น • ความร้อนเหลือทิ้งจากชุดระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศแบบอัดไอ (condensing unit) • ความร้อนเหลือทิ้งจากชุดระบายความร้อนของตู้แช่ • ความร้อนเหลือทิ้งจากปล่องไอเสียของหม้อไอน้ำ (boiler) • ความร้อนเหลือทิ้งจากท่อไอเสียเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล • ความร้อนเหลือทิ้งจากเครื่องอัดอากาศ • หรือความร้อนเหลือทิ้งอื่นๆ ที่สามารถใช้ในการผลิตน้ำร้อนได้

  15. หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 2. ให้เงินสนับสนุนการลงทุนเฉพาะระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ ประกอบด้วย • ตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ • ถังเก็บน้ำร้อน • ระบบท่อ • ระบบควบคุมการทำงาน

  16. หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 3. วงเงินสนับสนุนการลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนแสงอาทิตย์ • 4,500 บาทต่อตารางเมตรของตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ • สำหรับตัวรับรังสีแบบแผ่นเรียบคิดที่ พื้นที่ช่องรับแสง (Aperture Area) • สำหรับตัวรับรังสีแบบสูญญากาศ คิดที่พื้นที่รวมสุทธิ(Gross Area) • สำหรับอุปกรณ์ที่มีค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยที่ตัวรับรังสีผลิตได้ในรอบปีมีค่าตั้งแต่ 800 kWh/m2.ปี ขึ้นไป • ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยของตัวรับรังสีที่ผลิตได้ในรอบปี อ้างอิงภายใต้สภาวะเงื่อนไข ในหมายเหตุ

  17. หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 3. วงเงินสนับสนุนการลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนแสงอาทิตย์ • 3,000 บาทต่อตารางเมตรของตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ • สำหรับตัวรับรังสีแบบแผ่นเรียบคิดที่ พื้นที่ช่องรับแสง (Aperture Area) • สำหรับตัวรับรังสีแบบสูญญากาศ คิดที่พื้นที่รวมสุทธิ(Gross Area) • สำหรับอุปกรณ์ที่มีค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยที่ตัวรับรังสีผลิตได้ในรอบปีมีค่าต่ำกว่า 800 แต่ไม่ต่ำกว่า 500 kWh/m2.ปี • ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยของตัวรับรังสีที่ผลิตได้ในรอบปี อ้างอิงภายใต้สภาวะเงื่อนไข ในหมายเหตุ

  18. หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 4. ให้การสนับสนุนการลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนแสงอาทิตย์ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 40 ตารางเมตรของพื้นที่รับแสง และขั้นสูงไม่เกิน 500 ตารางเมตรหรือวงเงินไม่เกิน 2,250,000 ล้านบาทหรือตามแต่ดุลยพินิจของคณะกรรมการ

  19. หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 5. ระบบทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานที่ได้ติดตั้งอุปกรณ์ไปแล้ว ไม่สามารถขอรับเงินสนับสนุนจากโครงการนี้ได้ ซึ่งโครงการที่ให้การสนับสนุนเป็นได้ทั้งโครงการใหม่และโครงการปรับปรุงเปลี่ยนตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ใหม่ หรือการเพิ่มขนาดหรือกำลังผลิต โดยมีระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 5 ปี

  20. หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน • สภาวะเงื่อนไข เพื่อการประเมินค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยของตัวรับรังสีที่ผลิตได้ในรอบปี • อุณหภูมิอากาศแวดล้อม (Ta) 35°C • อุณหภูมิของไหลที่ไหลเข้าตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ (Ti) 30 °C • อุณหภูมิของไหลที่ไหลออกจากตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ (To) 60 °C • ค่าความเข้มแสงอาทิตย์ที่ 800 W/m2 • ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยรายปีของประเทศไทย 1,800 kWh/m2

  21. หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน ผลการทดสอบตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ เฉลี่ย 45% ที่มา : มหาวิทยาลัยนเรศวร

  22. Y Y X X หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน • แผ่นรับแสงแบบแผ่นเรียบ • (Flat plate collector) 2. หลอดแก้วสุญญากาศ (Evacuated tube collector)

  23. เงื่อนไขในการดำเนินงานเงื่อนไขในการดำเนินงาน • ต้องดำเนินการติดตั้งอุปกรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ พพ. แจ้งอนุมัติการสนับสนุน มิฉะนั้น พพ. มีสิทธิ์บอกเลิกการให้การสนับสนุน • พพ. จะพิจารณาใบสมัครของผู้ที่ยื่นใบสมัครตามลำดับก่อนหลัง ซึ่งจะดูจากความถูกต้องสมบูรณ์ของใบสมัคร และเอกสารประกอบ • การพิจารณาให้การสนับสนุนของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด ผู้ขอรับการสนับสนุนไม่อาจเรียกร้องใดๆ ได้ • ผู้ขอรับการสนับสนุนในโครงการนี้ จะขอรับการสนับสนุนซ้ำซ้อนกับโครงการสนับสนุนอื่นๆ ของ พพ. ไม่ได้

  24. เงื่อนไขในการดำเนินงานเงื่อนไขในการดำเนินงาน 5. เอกสารประกอบการขอรับการสนับสนุน ประกอบด้วย • แบบขอรับการสนับสนุนฯ • ผลการศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นและแบบเบื้องต้น • เอกสารด้านเทคนิคประกอบการพิจารณา เช่น คุณสมบัติเฉพาะ (Specifications) อายุการใช้งาน ใบรับรองมาตรฐาน ผลทดสอบสมรรถนะ จากสถาบันทดสอบที่เชื่อถือได้ ตามมาตรฐาน ASHRAE 93 หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่เทียบเท่า การหุ้มฉนวนในระบบท่อส่งน้ำร้อน และรายการคำนวณการประหยัดพลังงานระยะเวลาคืนทุนและแบบแสดงการติดตั้ง • ภาพถ่ายจุดอ้างอิงที่ถาวรแสดงอยู่บนรูปเพื่อเปรียบเทียบกับรูปถ่ายหลังจากการติดตั้งแล้ว

  25. เงื่อนไขในการดำเนินงานเงื่อนไขในการดำเนินงาน 5. เอกสารประกอบการขอรับการสนับสนุน ประกอบด้วย (ต่อ) • แผนการดำเนินการติดตั้งและแผนการบำรุงรักษา • เอกสารการรับประกันการใช้งานระบบ อย่างน้อย 1 ปี และตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ อย่างน้อย 5 ปี • หนังสือรับรองความปลอดภัยในการออกแบบและติดตั้ง • หนังสือรับรองความปลอดภัยในการออกแบบและติดตั้ง • รายละเอียดแสดงการติดตั้ง อุปกรณ์วัดพลังงานที่ผลิตได้ของระบบ เช่น อุปกรณ์วัดการไหลของน้ำเข้าระบบผลิต และการติดตั้งอุปกรณ์วัดอุณหภูมิน้ำร้อนของระบบฯเป็นต้น พร้อมทั้งจัดส่งรายงานสรุปผลการดำเนินการติดตั้งและทดสอบ

  26. ขั้นตอนการขอรับการสนับสนุนขั้นตอนการขอรับการสนับสนุน

  27. แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(1/2)แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(1/2) 1 2 ขอรับแบบการขอรับการสนับสนุน จัดทำและแก้ไขแบบการรับการสนับสนุนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ประสานงานการขอรับการสนับสนุน 3 รับแบบการขอรับการสนับสนุน 4 ตรวจสอบแบบตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขแผนดำเนินงาน ไม่ถูกต้อง (ภายใน 7 วันทำการนับจากรับแบบฯ) ถูกต้อง 5 (รวบรวมให้ครบ 5 รายหรือภายใน 10 วันทำการนับจากตรวจสอบเอกสารถูกต้อง) สรุปและแก้ไขเอกสาร รายงานเตรียมประชุม ไม่ผ่าน 6 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบขอรับการสนับสนุน ผ่าน

  28. แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(2/2)แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(2/2) 6 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบขอรับการสนับสนุน ผ่าน แจ้งผล / สัญญา 7 8 ดำเนินการติดตั้งให้แล้วเสร็จใน 6 เดือน แจ้งผลการพิจารณา แจ้งยืนยัน (ภายใน 7 วันทำการ นับจากคณะกรรมการฯเห็นชอบ) 9 แจ้งผล ตรวจสอบการติดตั้ง (ภายใน 7 วันทำการ นับจากได้รับแจ้งผล) 10 11 ดำเนินการเบิกจ่ายเงิน รับเงินสนับสนุนและแจ้งตอบ

  29. ข้อเสนอแนะในการดำเนินการข้อเสนอแนะในการดำเนินการ • การออกแบบติดตั้งระบบควรพอดีกับปริมาณการใช้งานจริง • การเลือกใช้ระบบและอุปกรณ์ ควรมีมาตรฐานและมีโครงการอ้างอิงเป็นที่ประจักษ์ • การรับประกันผลงานในด้านต่างๆ ของผู้ขาย อาจพิจารณาข้อเสนอที่น่าสนใจ เช่นการรับประกันพลังงานที่ผลิตได้ หรือการรับประกันผลประหยัดเป็นต้น • การติดตั้งต้องคำนึงถึงความปลอดภัยและการบำรุงรักษาที่สะดวก

  30. ร่างแบบขอรับการสนับสนุนร่างแบบขอรับการสนับสนุน

  31. โครงการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนด้วยระบบผสมผสานโครงการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนด้วยระบบผสมผสาน พลังงานแสงอาทิตย์ในโรงพยาบาลและโรงแรม พพ. ได้ติดตั้งต้นแบบระบบผลิตน้ำร้อนแบบผสมผสานระหว่างพลังงานแสงอาทิตย์กับพลังงานความร้อนเหลือทิ้งจากเครื่องปรับอากาศ ผลการติดตั้งทดสอบระบบฯ 1. โรงพยาบาลแกลง จ.ระยอง - จำนวนแผงรับรังสีแสงอาทิตย์ 12 แผง - ขนาดเครื่องปรับอากาศ 48,000 Btu/hr 1 ชุด - ต้นทุนการผลิตน้ำร้อน 0.0496 บาท/ลิตร - ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2 ปี 2. โรงแรมดุสิตไอส์แลนด์รีสอร์ท จ.เชียงราย -จำนวนแผงรับรังสีแสงอาทิตย์ 32 แผง -ขนาดเครื่องปรับอากาศ 19,000 Btu/hr 1 ชุด 22,000 Btu/hr 1 ชุด -ต้นทุนการผลิตน้ำร้อน 0.0459 บาท/ลิตร -ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2 ปี โรงแรมฯ ได้ดำเนินการติดตั้งระบบเพิ่มจนได้รับ รางวัล Thailand Energy Award 2007 และ ASEANEnergy Award2007 www.themegallery.com

  32. Thank You ! www.themegallery.com

More Related