1 / 29

กรมชลประทาน

กรมชลประทาน. การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในภารกิจที่ถ่ายโอนให้อปท. สำหรับบุคลากรของกรมชลประทาน. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ. 24 กันยายน 2552. สาระสำคัญในหลักการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542.

addison
Download Presentation

กรมชลประทาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมชลประทาน การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในภารกิจที่ถ่ายโอนให้อปท.สำหรับบุคลากรของกรมชลประทาน โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ 24 กันยายน 2552

  2. สาระสำคัญในหลักการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 แผนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2543 แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 1) ส่วนราชการ 57 กรม ใน 15 กระทรวง และ 1 ส่วนราชการที่ไม่ได้สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ต้องถ่ายโอนภารกิจรวม 6 ด้าน จำนวน 245 ภารกิจ ให้แก่ อปท. ทุกรูปแบบ กรมชลประทานการถ่ายโอน 8 ภารกิจ • 1. การดูแลบำรุงรักษา ปรับปรุงโครงการชลประทานขนาดเล็ก • 2. การดูแลรักษาทางน้ำ • 3. การดูแลรักษา ปรับปรุง โครงการชลประทานระบบท่อ • 4. บำรุงรักษาทางชลประทาน • 5. โครงการขุดลอกหนองน้ำและคลองธรรมชาติ • 6. งานจัดสรรน้ำในระดับแปลงนา และหรือคันคูน้ำ • 7. การสูบน้ำนอกเขตชลประทาน • 8. โครงการถ่ายโอนการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 2

  3. สรุปผลภารกิจที่ถ่ายโอนให้อปท.ตามแผนการกระจายอำนาจฯ และแผนปฏิบัติการปี2543 (ถ่ายโอนในปี 2545-2548) ที่มา: จากการสำรวจข้อมูลของส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกวิทยาฯ (ถึงมี.ค.2549)

  4. สาเหตุที่อปท.ไม่ยอมรับโอนภารกิจสาเหตุที่อปท.ไม่ยอมรับโอนภารกิจ • สภาพอาคารชำรุดเสียหายมาก • อปท.ไม่มีงบประมาณ • อปท.ไม่มีเจ้าหน้าที่ที่ชำนาญ • โครงการคาบเกี่ยวกับหลายอบต. ให้ ชป.เร่งดำเนินการ+รายงานสรุป

  5. พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่อปท.(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2549 แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ขอบเขตการถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการฯ (ฉบับที่ 2) แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กรมชลประทาน ถ่ายโอนภารกิจ จำนวน 2 ภารกิจ (เพิ่มเติม) 1. การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน 2. การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก • แหล่งน้ำที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน และมีปริมาตรเก็บกักน้ำ น้อยกว่า 2 ล้านลูกบาศก์เมตร ให้ถ่ายโอนให้กับ อปท. ที่เป็นที่ตั้งแหล่งน้ำนั้น • 2. แหล่งน้ำที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าหนึ่งอปท. • ให้ส่วนราชการเป็นผู้ดำเนินการ หาก อปท. แต่ละแห่งตกลงกันได้ • ก็ให้ถ่ายโอนให้อปท. ที่ขอรับโอนและมีความพร้อม • 3. แหล่งน้ำขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าหนึ่งจังหวัด หรือมีปริมาตรเก็บกักน้ำมากกว่า 2 ล้านลูกบาศก์เมตร ให้ส่วนราชการเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างและบำรุงรักษาต่อไป

  6. ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจ 1.การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำที่ประชาชน ใช้ประโยชน์ร่วมกัน 1.ชป.ถ่ายโอนแหล่งน้ำที่มีปริมาตรเก็บกักน้อยกว่า 2 ล้านลบ.ม. ได้แก่ อ่างเก็บน้ำ, ฝายน้ำล้น, ทำนบ, ระบบส่งน้ำให้อปท.ที่เป็นที่ตั้งของแหล่งน้ำนั้น ให้อปท.ดูแลรักษา 2.ให้ ชป. กำหนดประเภท ลักษณะ ขนาด และมาตรฐานการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำที่สามารถถ่ายโอนให้อปท. 3.กรณีแหล่งน้ำที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่ อปท.มากกว่าหนึ่งแห่ง ให้ถ่ายโอนให้อบจ.หรืออปท.ร่วมกันดำเนินการกับอบจ.โดยให้ชป.พิจารณาตามความเหมาะสม 4.ชป.จัดทำแผนการถ่ายโอนที่ชัดเจน รวมทั้งจัดทำคู่มือปฏิบัติงานและฝึกอบรมให้แก่บุคลากรของอปท. ที่มา: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (2551)

  7. ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจ 2. การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก 1.ให้ชป.ถ่ายโอนการดูแลการชลประทานขนาดเล็กเพื่อการเกษตร การบริโภค และเพื่อการอื่น ตามที่ ชป.กำหนด 2.กรณีการชลประทานขนาดเล็กที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่ อปท.มากกว่าหนึ่งแห่ง • อาจถ่ายโอนให้อปท.นั้นร่วมกันดำเนินการ • หรือถ่ายโอนให้อบจ.หรืออปท.นั้น ร่วมดำเนินการกับอบจ. โดยให้ชป.พิจารณาตามความเหมาะสม 3.ให้ชป.จัดทำแผนการถ่ายโอนที่ชัดเจนให้อปท. ที่มา: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (2551)

  8. คำสั่งกรมฯ เรื่อง แต่งตั้ง คกก.บริหารการถ่ายโอนภารกิจ ทรัพย์สิน บุคลากร ของกรมชลประทานให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คำสั่งกรมฯ ที่ ข.578/2551 เรื่อง แต่งตั้งคกก.บริหารการถ่ายโอนฯ ประธานคกก.=รธบ. / รองประธานคกก.=รธร. กรรมการ(นอกกรมฯ)=ผู้แทนสกถ./กพ./กพร./ สำนักงบฯ/กปถ. กรรมการ(ในกรมฯ)=ผส.อน./ผส.ชป.1,12,14/ผอ.มด./ผอ.ผง. ผฝอ./ผปก.ชป.4,5 ฝ่ายเลขาฯ=ส่วนปรับปรุงฯสำนักอุทกฯ/กองกฎหมาย อำนาจหน้าที่=บริหารจัดการเรื่องการถ่ายโอนฯ/จัดทำแผน-ขั้นตอน/กำหนดประเภท-ลักษณะงานที่จะถ่ายโอน/ติดตามประเมินผล/แก้ไขปัญหาอุปสรรค

  9. การดำเนินการของคกก.บริหารการถ่ายโอนภารกิจฯของกรมการดำเนินการของคกก.บริหารการถ่ายโอนภารกิจฯของกรม คกก.บริหารฯ (ของกรมฯ) ได้ประชุม 2 ครั้ง • ประชุมครั้งที่ 1 เพื่อกำหนดขอบเขตขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ (เมื่อ 24 พ.ย.51) • “คกก.กระจายอำนาจให้แก่อปท.”ขอให้กรมฯ ปรับปรุงแผนถ่ายโอนฯ คือ (1) ถ่ายโอนให้แล้วเสร็จในปี 2553 (2) ระบุรายละเอียดจำนวนและที่ตั้งของภารกิจ อปท.ที่จะรับโอน กำหนดระยะเวลาที่จะถ่ายโอนให้อปท. (3) จัดทำแผนฝึกอบรม • ประชุมครั้งที่ 2 เพื่อปรับปรุงแผนตามมติของ“คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อบริหารแผนการกระจายอำนาจให้แก่อปท.”(เมื่อ 23 มี.ค.52) • เสนอกรมฯส่งแผนให้ “คณะอนุกรรมการฯ” แล้วเมื่อ 2 ก.ย. 52 • “คณะอนุกรรมการฯ” ประชุมพิจารณาแผนอีกครั้งในวันที่ 22 ก.ย.52

  10. แผนการดำเนินงานของชป.(ตามแผนฯ ฉบับที่2 พ.ศ.2549) • แผนการดำเนินงาน • ให้เสร็จสิ้นในปี 2553 • งานก่อสร้าง ดำเนินการได้ถึงงบปี 2553 • งานบำรุงรักษา เมื่อก่อสร้างเสร็จแล้ว ให้ถ่ายโอนแก่อปท.ดูแลตามขอบเขตและขั้นตอนแผนปฏิบัติการฉบับที่ 2 • สรุปแผนที่ถ่ายโอนภารกิจการชป.เล็กให้อปท.ได้แก่ อ่างเก็บน้ำ, ฝายน้ำล้น, คลอง คู ระบบส่งน้ำในแปลงนา, โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า, สระน้ำและหนองธรรมชาติ (ดูรายละเอียดในเอกสาร) • รวม 248 โครงการ • รวม 180 อปท. • รวม 40 จังหวัด

  11. ขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ ภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 1 เป็นอาคารประเภท เขื่อน และทำนบ รูปแบบที่ 1: เป็น เขื่อนและทำนบที่ ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูง < 5.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) รูปแบบที่ 2:เป็น เขื่อนและทำนบที่ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ <2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูงตั้งแต่ 5.00-15.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) กรณีเขื่อนสูงมากกว่า 15 เมตร ไม่ถ่ายโอน

  12. ขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ ภารกิจ การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 2 เป็นอาคารประเภท ฝายและระบบส่งน้ำ รูปแบบที่ 3: 3.1 ฝาย ในลุ่มน้ำย่อย/จังหวัดเดียว ความสูงสันฝายไม่เกิน 2.50 ม.จากท้องน้ำ ปริมาณน้ำผ่านสูงสุดในรอบ 25 ปี ไม่เกิน 15 ลบ.ม./วินาที 3.2 ระบบส่งน้ำ ในพื้นที่ดูแลของ อปท. คลอง/คูน้ำ/ระบบส่งน้ำในแปลงนานอกเขตชลประทาน พื้นที่เกษตรที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ ภารกิจ การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก รูปแบบที่ 4:การถ่ายโอนภารกิจ การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก

  13. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอนขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอน เขื่อนและทำนบ 13

  14. รูปแบบที่ 1:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ เขื่อนและทำนบอาคารที่ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิมความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. และความสูงจากฐานราก(ระดับดินเดิม) < 5.00 ม. > 2 ม. 1:3 หรือ ลาดกว่า 1:3 หรือ ลาดกว่า <5 ม. ความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. < 3ม. 1:3 หรือลาดกว่า หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 14

  15. เขื่อนและทำนบอาคารที่ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิมเขื่อนและทำนบอาคารที่ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิม 15

  16. รูปแบบที่ 1:การถ่ายโอนภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 1: เป็น เขื่อนและทำนบที่ ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. และความสูง < 5.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการร่วมกับรัฐ (Share Function) กรมชลประทาน ดำเนินการ อปท. ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น ไม่ยุ่งยาก ยุ่งยาก สำรวจ-ออกแบบ ดำเนินการก่อสร้าง ดำเนินการก่อสร้าง กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ 16 หมายเหตุ ดำเนินการร่วมกัน กรมชลประทานดำเนินการ อปท.ดำเนินการ

  17. รูปแบบที่ 2:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ เขื่อนและทำนบอาคารที่ปิดกั้นลำน้ำเดิมความจุ <2 ล้าน ลบ.ม. ความสูง 5-15 เมตร จากฐานราก (ระดับดินเดิม) สูง 5-15 ม. ปริมาตรเก็บกักน้ำ < 2 ล้าน ลบ.ม. ระดับดินเดิม หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 17

  18. เขื่อนและทำนบอาคารที่ปิดกั้นลำน้ำเดิมเขื่อนและทำนบอาคารที่ปิดกั้นลำน้ำเดิม 18

  19. รูปแบบที่ 2:รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 2.1 : เป็น เขื่อนและทำนบที่ ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ <2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูง ตั้งแต่ 5-15 เมตร จากฐานราก(ระดับดินเดิม) ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการร่วมกับรัฐ (Share Function) อปท. ดำเนินการ กรมชลประทาน ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น สำรวจ-ออกแบบ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล ดำเนินการก่อสร้าง ดูแลรักษาและบริหาร จัดการน้ำ 19 หมายเหตุ ดำเนินการร่วมกัน กรมชลประทานดำเนินการ อปท.ดำเนินการ

  20. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอนขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอน ฝายและระบบส่งน้ำ 20

  21. รูปแบบที่ 3:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ 3.1 ฝายที่มีการถ่ายโอนภารกิจฯ Qmax <15 ลบ.ม./วินาที ความสูงสันฝาย< 2.50 ม. หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 21

  22. ฝาย 22

  23. รูปแบบที่ 3:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ 3.2 ระบบส่งน้ำที่มีการถ่ายโอนภารกิจฯ • พื้นที่รับน้ำ <2,000ไร่ หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 23

  24. ระบบส่งน้ำ 24

  25. กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล อปท. ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น สำรวจ-ออกแบบ ดำเนินการก่อสร้าง ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ รูปแบบที่ 3:รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ ฝายและระบบส่งน้ำ ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการเอง ฝาย ในลุ่มน้ำย่อย/จังหวัดเดียว ความสูงสันฝายไม่เกิน 2.50 ม.จากท้องน้ำ ปริมาณน้ำผ่านจุดที่ตั้งฝาย สูงสุดในรอบ 25 ปี ไม่เกิน 15 ลบ.ม./วินาที ระบบส่งน้ำ ในพื้นที่ดูแลของ อปท. คลอง/คูน้ำ/ระบบส่งน้ำในแปลงนา นอกเขตชลประทาน พื้นที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ 25

  26. อปท. ดำเนินการ ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล รูปแบบที่ 4:รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจการดูแลการชลประทานขนาดเล็ก ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการเอง เขื่อนดิน/ทำนบดิน มีปริมาตรเก็บกักน้อยกว่า 2 ล้าน ลบ.ม. และความสูงน้อยกว่า 15.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) ฝาย มีความสูงสันฝาย ไม่เกิน 2.50 ม. จากท้องน้ำ คลองส่งน้ำ คูน้ำ ระบบส่งน้ำในแปลงนา โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า มีพื้นที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ 26

  27. การเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนฯการเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนฯ • การจัดการฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง • จัดโดยคกก.กระจายอำนาจฯ - หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับผู้บริหาร • หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านกฎหมาย • หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านช่าง • หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเฉพาะ (เฉพาะอปท) • จัดโดยกรมชลประทาน • โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในภารกิจที่ถ่ายโอนสำหรับบุคลากรของกรมชลประทาน (จัดเมื่อ 24 ก.ย. 52) • โครงการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในภารกิจถ่ายโอนให้แก่อปท. • ข้อมูลข่าวสารทาง Website • สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น http://www.dloc.opm.go.th/ • ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกฯ http://water.rid.go.th/hwm/imp/tran_230752.html

  28. 4. มาตรฐานและคู่มือที่เกี่ยวข้อง 3. • สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี • คู่มือการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (thailocaladmin.go.th เปิด e-book) • มาตรฐานอ่างเก็บน้ำและเขื่อนขนาดเล็ก • มาตรฐานการก่อสร้าง บูรณะ และการบำรุงรักษาแหล่งน้ำ • มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร • กรมชลประทาน • มาตรฐานโครงการชลประทานขนาดเล็กประเภทอ่างเก็บน้ำ • มาตรฐานอาคารชลประทานประเภทฝาย • มาตรฐานอาคารในระบบส่งน้ำและระบายน้ำ 28

  29. ขอขอบคุณ กรมชลประทาน น้ำสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง

More Related