1 / 21

การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน. สัญญา Firm. สัญญา Non-Firm. Cogeneration. Renewable. Cogeneration. Renewable. ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย > 10 MW ,<= 90 MW. ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย >10 MW <= 90 MW. อายุสัญญาตั้งแต่ 20-25 ปี. อายุสัญญา 5 ปี และต่อเนื่องอัตโนมัติ.

adamdaniel
Download Presentation

การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

  2. สัญญา Firm สัญญา Non-Firm Cogeneration Renewable Cogeneration Renewable ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย >10 MW,<= 90 MW ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย >10 MW <= 90 MW อายุสัญญาตั้งแต่ 20-25 ปี อายุสัญญา 5 ปี และต่อเนื่องอัตโนมัติ สัญญา Non-Firm Cogeneration Renewable ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย <= 10 MW อายุสัญญา 5 ปี และต่อเนื่อง การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน SPP : ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายเข้าระบบของการไฟฟ้าเกินกว่า 10 MW แต่ไม่เกิน 90 MW ขายไฟฟ้าให้กับ กฟผ.สามารถแบ่งเป็นดังนี้ VSPP: ผู้ผลิตไฟฟ้าทั้งภาคเอกชน รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และประชาชนทั่วไปที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าของตนเอง ที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายเข้าระบบของการไฟฟ้าไม่เกิน 10 MW ขายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟน. หรือ กฟภ.

  3. การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP

  4. การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1) • มติ ครม. วันที่ 17 มี.ค. 2535 เห็นชอบการออกระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP • วัตถุประสงค์ : • ให้ กฟผ. สามารถรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ที่ผลิตไฟฟ้าโดยใช้พลังงานนอกรูปแบบ กาก หรือเศษวัสดุเหลือใช้เป็นเชื้อเพลิง และการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำร่วมกัน (Cogeneration) • กำหนดให้มีการใช้ไอน้ำ > 10 % • กำหนดประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า > 45 % • ส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานนอกรูปแบบและพลังงานพลอยได้ในประเทศให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น • ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ • ช่วยแบ่งเบาภาระการลงทุนของภาครัฐในระบบการผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าด้วย

  5. การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (2) • รัฐบาลได้ยุติการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ที่ใช้พลังงานเชิงพาณิชย์เป็นเชื้อเพลิงในปี 2540 ซึ่งเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ: • ความต้องการใช้ไฟฟ้าลดต่ำลง • กำลังการผลิตสำรอง (Reserve Margin) ของระบบอยู่ในระดับสูง • แต่การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนมีประโยชน์ต่อประเทศโดยรวม ครม.มีมติวันที่ 11 ส.ค. 2540 เห็นชอบ: • ให้มีการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ที่ใช้พลังงานนอกรูปแบบ กาก เศษวัสดุเหลือใช้เป็นเชื้อเพลิง และโครงการ SPP ประเภท Non-Firm • ไม่กำหนดระยะเวลาและปริมาณ • ขึ้นอยู่กับขีดความสามารถของระบบส่งและระบบจำหน่ายที่จะรับได้ • มติ กพช. วันที่ 26 ธ.ค. 49: เห็นชอบให้ กฟผ. เปิดการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ทุกประเภทเชื้อเพลิงตามที่กำหนดในระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า โดยให้ขยายปริมาณการรับซื้อไฟฟ้าจากเดิม 3,200 MW เป็น 4,000 MW

  6. Cogeneration Renewable การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP รายใหม่ • มติ กพช. เมื่อวันที่ 9 เม.ย. 2550 เห็นชอบระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ดังนี้ Firm Non-Firm Renewable Cogeneration ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย < 90 MW ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย <90 MW อายุสัญญา 5 ปี และต่อเนื่อง อายุสัญญาตั้งแต่ 20-25 ปี • กฟผ. ได้ออกประกาศรับซื้อไฟฟ้าแล้ว เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2550

  7. ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1) • ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายเข้าระบบไม่เกิน 90 MW • อายุสัญญา 20-25 ปี • แบ่งออกเป็น 2 ระเบียบ ดังนี้ 1. ระบบ Cogeneration • นิยามการผลิตทั้งพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนในเวลาเดียวกันจากโรงไฟฟ้าหนึ่ง ซึ่งเป็นการแปลงพลังงานปฐมภูมิไปเป็นพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ (useful heat energy) ภายในกระบวนการผลิตเดียวกันตามกระบวนการทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics) • เงื่อนไข • ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง มีสัดส่วนของพลังงานความร้อนที่จะนำไปใช้ในกระบวนการอุณหภาพ นอกจากการผลิตไฟฟ้าต่อการผลิตพลังงานทั้งหมด >= 5% • SPP จะได้รับค่า FS สูงสุดเมื่อผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยมีค่า PES >= 10%

  8. ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (2) • พลังงานหมุนเวียน • 2.1 การผลิตไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กที่ใช้พลังงานนอกรูปแบบ (Non-Conventional Energy) เช่น พลังลม พลังแสงอาทิตย์ พลังน้ำขนาดเล็ก (Mini Hydro) เป็นต้น ซึ่งต้องไม่ใช่การใช้น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติถ่านหินและพลังนิวเคลียร์ • 2.2 การผลิตไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กโดยใช้เชื้อเพลิงดังต่อไปนี้ • - กากหรือเศษวัสดุเหลือใช้ในการเกษตร หรือกากจากการผลิต ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือการเกษตร • - ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจากกากหรือเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร หรือจาก การผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือการเกษตร • - ขยะมูลฝอย • - ไม้จากการปลูกป่าเป็นเชื้อเพลิง • SPP ที่ใช้เชื้อเพลิงดังกล่าวข้างต้นสามารถใช้เชื้อเพลิงในเชิงพาณิชย์ เช่น น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงเสริมได้ แต่ทั้งนี้พลังงานความร้อนที่ได้จากการใช้เชื้อเพลิงเสริมในแต่ละรอบปีต้องไม่เกินร้อยละ 25ของพลังงานความร้อนทั้งหมดที่ใช้ในกระบวนการผลิตในรอบปีนั้นๆ

  9. คงที่ เปิดประมูล ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ปริมาณพลังไฟฟ้า 4,000 MW ขายเข้าระบบแล้ว 2,400 MW 1,600 MW ประกาศงวดแรก 1,030MW Renewable (>10 MW- <= 90 MW) Cogeneration (>10MW - <= 90 MW) 530 MW 500 MW • การส่งเสริม • ส่วนเพิ่มฯ เปิดประมูล • ส่วนเพิ่มฯ อัตราคงที่ • การส่งเสริม • โครงการก๊าซธรรมชาติ • โครงการถ่านหิน

  10. อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าของ SPP SPP Firm 1) ค่าพลังไฟฟ้า (Capacity Payment : CP) 2) ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment: EP) 3)ค่าประหยัดเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า (Fuel Saving : FS) -SPP ประเภทสัญญา Firm ระบบ Cogeneration ได้รับค่า FS ตั้งแต่ 0-0.36 บาท/kWh ตามสัดส่วนค่า PES -SPP ประเภทสัญญา Firm ที่ใช้พลังงานหมุนเวียนจะได้รับค่า FS ในอัตราคงที่สูงสุด (=0.36 บาท/kWh) SPP Non-Firm แบ่งตามกระบวนการผลิตไฟฟ้า ออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ • มีลักษณะกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน จะได้รับค่าพลังงานไฟฟ้าตามโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง ณ แรงดัน 11-33 KV รวมกับค่า Ft ขายส่งเฉลี่ย • SPP จะได้รับส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าด้วย โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่จะประกาศเป็นครั้งๆ ไป • 2) มีลักษณะกระบวนการผลิตไฟฟ้าด้วยระบบ Cogeneration จะได้รับค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment) ซึ่งกำหนดจากค่าเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ค่าดำเนินการและค่าบำรุงรักษาของโรงไฟฟ้าที่ กฟผ. สามารถหลีกเลี่ยงได้ในระยะสั้น (Short Run Avoided Energy Cost) จากการรับซื้อพลังงานไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โดยอัตราค่าไฟฟ้าจะแตกต่างกันตามช่วงเวลา (TOU) ที่ผลิตไฟฟ้า

  11. การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP

  12. การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP (<1MW) • พ.ศ.2545 : การไฟฟ้าฝ่ายจำหน่ายออกประกาศรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP < 1 MW (ปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบ < 1 MW) • VSPP ต้องเป็นผู้ใช้ไฟของ กฟน./กฟภ. • วัตถุประสงค์ : • ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน • ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ • ลดการพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานเชิงพาณิชย์ • ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • การกระจายโอกาสไปยังพื้นที่ห่างไกลให้มีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้า • การคิดค่าไฟฟ้า • อัตราค่าไฟฟ้ากำหนดจากหลักการต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoided Cost) ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย • วิธีคำนวณค่าไฟฟ้าใช้หลักการหักลบหน่วยพลังงานไฟฟ้า (Net Energy)

  13. การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP (<10MW) • มติ กพช. 4 กันยายน 2549 : เห็นชอบการขยายระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP สำหรับปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบ < 10 MW โดยแยกเป็น 2 ระเบียบ ดังนี้ • ระเบียบสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน • ระเบียบสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานเชิงพาณิชย์ระบบ Cogeneration • การออกประกาศรับซื้อไฟฟ้า • กฟภ. ออกประกาศวันที่ 7 ธันวาคม 2549 • กฟน. ออกประกาศวันที่ 27 ธันวาคม 2549 • ผู้ผลิตไฟฟ้าที่จะขายไฟฟ้าตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP เมื่อผลิตไฟฟ้าใช้ในกระบวนการผลิตหรือใช้ในโรงไฟฟ้าแล้ว สามารถขายไฟฟ้าเข้าระบบของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่ายได้ < 10 MW

  14. ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) VSPP Renewable (≤10 MW) Cogeneration (≤ 10 MW) • การส่งเสริม • ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า อัตราคงที่ • เงื่อนไข • PES ≥ 10 % กำหนดให้ยื่นขอขายไฟฟ้าภายในปี 2551

  15. < 1 MW < 10 MW • แสงอาทิตย์ • ก๊าซชีวภาพ • ฟางข้าว • ชีวมวลอื่น ๆ • แสงอาทิตย์ • ก๊าซชีวภาพ • ฟางข้าว • ชีวมวลอื่น ๆ • ขยะ • ไบโอดีเซล • พลังน้ำ • พลังลม • ก๊าซธรรมชาติ • ถ่านหิน ภาพรวมการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP • เมื่อขยายปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก < 1 MW เป็น < 10 MW และให้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า ทำให้ 1. ประเภทเชื้อเพลิงหลากหลายขึ้น 2. VSPP ได้รับการตอบรับซื้อไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจาก 16.86 MW ในปี 2549 เป็น 1,054.68 MW ปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อที่เพิ่มขึ้น= 1,037.45 MW 3. VSPP ขายไฟฟ้าเข้าระบบเพิ่มขึ้นจาก 12.01 MW ในปี 2549 เป็น 213.60 MW ปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบที่เพิ่มขึ้น = 201.59

  16. การกำหนดอัตรารับซื้อไฟฟ้า VSPP พลังงานหมุนเวียน • กำหนดจากหลักการต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoided Cost) ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย • วิธีการคำนวณค่าพลังงานไฟฟ้า • VSPP ที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบ <=6 MW : ใช้หลักการหักลบหน่วยพลังงานไฟฟ้า (Net Energy) • VSPP ที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบ > 6 MW : คำนวณค่าพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดตามมิเตอร์ซื้อในอัตราค่าไฟฟ้าขายส่งและมิเตอร์ขายตามอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีกของผู้ใช้ไฟประเภทนั้นๆ • VSPP ที่ทำสัญญาเสนอขายไฟฟ้า >1 MW ขึ้นไปปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่นำมาคำนวณจะถูกหักออก 2%ของปริมาณพลังงานไฟฟ้าส่วนที่ขายเพื่อเป็นค่าดำเนินการโครงการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าของ VSPP • VSPP ที่ทำสัญญาเสนอขายไฟฟ้า >1 MW ขึ้นไปปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่นำมาคำนวณจะถูกหักออก 2% ของปริมาณพลังงานไฟฟ้าส่วนที่ขายเพื่อเป็นค่าดำเนินการโครงการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย • ราคารับซื้อไฟฟ้า • จำนวนหน่วยไฟฟ้าที่ขาย > ซื้อจากการไฟฟ้า คิดในราคาขายส่ง • จำนวนหน่วยไฟฟ้าที่ขาย < หรือเท่ากับที่ซื้อจากการไฟฟ้า คิดในราคาขายปลีก ราคารับซื้อ = ค่าไฟฟ้าขายส่งณระดับแรงดันที่ VSPP ทำการเชื่อมโยง + ค่า Ftขายส่งเฉลี่ย

  17. คงที่ เปิดประมูล ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (SPP & VSPP) SPP (> 10 MW-< 90 MW VSPP (< 10 MW) ปริมาณพลังไฟฟ้า 4,000 MW ขายเข้าระบบแล้ว 2,400 MW 1,600 MW ประกาศงวดแรก 1,030MW Cogeneration Renewable Cogeneration Renewable • การส่งเสริม • ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า อัตราคงที่ 7 ปี 530 MW 500 MW • การส่งเสริม • โครงการก๊าซธรรมชาติ • โครงการถ่านหิน • การส่งเสริม • ส่วนเพิ่มฯ เปิดประมูล • ส่วนเพิ่มฯ อัตราคงที่ 7 ปี (คัดเลือกได้ 335) * ระยะเวลาสนับสนุน 10 ปี นับจากวัน COD

  18. การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน“ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน“ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”

  19. การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (1)

  20. การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน (2) • การกำหนดส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) • เพื่อเป็นแรงจูงใจให้ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนที่มีต้นทุนสูง เข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้าให้กับระบบเพิ่มขึ้น • คำนึงถึงต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า • คำนึงถึงภาระค่าไฟฟ้าของประชาชน • มูลค่าการรับซื้อไฟฟ้าตามส่วนเพิ่มฯ ให้ส่งผ่านค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft)

  21. ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนสำหรับโครงการ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มติ กพช. 4 มิ.ย. 2550 :เห็นชอบการกำหนดส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนสำหรับโครงการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ) ดังนี้ หมายเหตุ : กฟผ. ออกประกาศ 23 ก.ค. 2550 และ กฟภ. ออกประกาศ 13 ก.ค. 2550 มติ กพช. 27 ส.ค. 2550 :เห็นชอบการกำหนดอัตราส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าที่ให้เพิ่มเติมพิเศษ สำหรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้รวมถึงโครงการโรงไฟฟ้าเดิมที่ตั้งอยู่ใน 3 จังหวัด (ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ) ด้วย มีโครงการที่ได้รับส่วนเพิ่มพิเศษ 1 ราย คือ บจก. กัลฟ์ ยะลากรีน ที่ตั้ง อ. เมือง จ. ยะลา ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย 20.20 MW ใช้เศษไม้ยางพาราเป็นเชื้อเพลิง

More Related