1 / 30

การใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

การใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร(ฉบับที่2) พ.ศ. 2532 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร(ฉบับที่3) พ.ศ. 2533

acton-buck
Download Presentation

การใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรการใช้พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร(ฉบับที่2) พ.ศ. 2532 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร(ฉบับที่3) พ.ศ. 2533 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร(ฉบับที่4) พ.ศ. 2534 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร(ฉบับที่5) พ.ศ. 2548 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร(ฉบับที่7) พ.ศ. 2554 วิธีการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษา ของบุตร พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ 2553 สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

  2. หลักเกณฑ์การจ่ายเงินการศึกษาของบุตรหลักเกณฑ์การจ่ายเงินการศึกษาของบุตร • ผู้มีสิทธิ • บุตรเข้าศึกษาในสถานศึกษา • ค่าการศึกษาเบิกตามที่กำหนด

  3. ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ผู้มีสิทธิ • ผู้ได้รับบำนาญปกติ ผู้ได้รับบำนาญพิเศษ เหตุทุพพลภาพ ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ข้าราชการการเมือง ข้าราชการตำรวจชั้นพลตำรวจ อยู่ในระหว่างเข้ารับการอบรมในสถานศึกษา ของกรมตำรวจก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการประจำ ยกเว้น

  4. สถานศึกษาของทางราชการสถานศึกษาของทางราชการ • (1) มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการหรือส่วนราชการอื่น หรือที่อยู่ในกำกับของรัฐ • (2) วิทยาลัยหรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าวิทยาลัย ในสังกัดหรืออยู่ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ หรือส่วนราชการอื่นที่ ก.พ. รับรองคุณวุฒิ

  5. สถานศึกษาของทางราชการ (ต่อ) (3) โรงเรียนในสังกัด หรือ อยู่ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานครเมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง และให้หมายความรวมถึงโรงเรียน ที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีการจัดระดับชั้นเรียนด้วย

  6. สถานศึกษาของทางราชการ (ต่อ) (4) โรงเรียนในสังกัดหรืออยู่ในกำกับของส่วนราชการอื่น หรือองค์การของรัฐบาลที่ ก.พ. รับรองคุณวุฒิ (5) โรงเรียนในสังกัดส่วนราชการที่กระทรวงการคลังกำหนด (6) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีการจัดระดับชั้นเรียน ในสังกัดส่วนราชการ

  7. สถานศึกษาของเอกชน (1) สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมาย ว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (2) โรงเรียนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนที่จัดการศึกษาในระบบโรงเรียน และให้รวมถึง โรงเรียนนานาชาติ

  8. บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ลำดับที่ 1 - 3 อายุครบ 3 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี บุตรของผู้มีสิทธิที่มีสิทธิได้รับ สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร บุตรบุญธรรม  บุตรซึ่งบิดามารดายกให้ เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่น ยกเว้น

  9. การนับอายุ สถานศึกษา A กำหนดเปิดเรียนภาคต้น วันที่ 16 พฤษภาคม – 11 ตุลาคม ของทุกปี กำหนดเปิดเรียนภาคปลาย วันที่ 1 พฤศจิกายน – 15 มีนาคม ของทุกปี ตัวอย่าง ด.ช. หนึ่ง เกิดวันที่ 27 มิ.ย. 52 ปีการศึกษา 2555 เข้าเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 สถานศึกษาเปิดภาคเรียนที่ 1/2555วันที่16 พ.ค. 55 ภาคเรียนที่ 1/2555 มีสิทธิหรือไม่

  10. เรียงลำดับการเกิด ทั้งนี้ ไม่ว่าเป็นบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยู่ในอำนาจปกครองของตนหรือไม่ การนับลำดับบุตร (มาตรา 7 วรรค 2)

  11. การนับลำดับบุตร ตัวอย่าง (มาตรา 7 วรรค 2) หนุ่ม (ขรก) + สาว(ขรก) สมรส หนึ่ง , สอง หย่า หนุ่ม +หญิง (ไม่เป็นขรก.) ชาย (ขรก) +สาว (หนึ่ง,สอง) สมรส สมรส ใหญ่ , กลาง , เล็ก เอก , แอน เอก แอน มีสิทธิหรือไม่ ใหญ่ กลาง เล็ก มีสิทธิหรือไม่

  12. การนับลำดับบุตร (ต่อ) มาตรา 7 ทวิ • ผู้มีสิทธิยังไม่มีบุตรหรือมีบุตรยังไม่ถึง 3 คน ต่อมามีบุตรแฝดทำให้มีบุตรเกิน 3 คน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรคนที่ 1 ถึง คนสุดท้าย แต่บุตรแฝดนั้นจะต้องเป็นบุตรซึ่งเกิดจาก คู่สมรสหรือเป็นบุตรของตนเองกรณีหญิงเป็นผู้ใช้สิทธิ

  13. การนับลำดับบุตร ตัวอย่าง กรณีมีบุตรเกิน 3 คน (มีบุตรแฝด) ต้น (ขรก.) + ข้าว(ขรก.) สมรส ปอ , ป่าน หย่า ต้น (ปอ)+กิ่ง (ไม่เป็นขรก.) ข้าว (ป่าน) + ก้าน (ไม่เป็นขรก.) ฟ้า , ฝน , เมฆ (แฝด) เอ , บี , ซี (แฝด) (จดทะเบียนรับรองบุตร) เอ,บี,ซี มีสิทธิหรือไม่ ฟ้า,ฝน,เมฆ มีสิทธิหรือไม่

  14. การนับลำดับบุตร ตัวอย่าง กรณีมีบุตรแฝด เมฆ(ขรก) +ฟ้า(ขรก) ดิน , น้ำ , ลม , ไฟ (แฝด) (จดทะเบียนรับรองบุตร) เมฆ? ฟ้า?

  15. ตาย กายพิการจนไม่สามารถเล่าเรียนได้ เป็นคนไร้ความสามารถ เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ วิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก่อนอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ การแทนที่

  16. เงินสวัสดิการเกี่ยวการศึกษาบุตรเงินสวัสดิการเกี่ยวการศึกษาบุตร ปีการศึกษา (มาตรา 4) • ปีการศึกษากำหนดโดยกระทรวงการศึกษาธิการ ส่วนราชการ เจ้าสังกัดหรือที่กำกับ มหาวิทยาลัย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง หรือ องค์การของรัฐบาล

  17. การยื่นขอเบิกเงินค่าการศึกษาของบุตรการยื่นขอเบิกเงินค่าการศึกษาของบุตร ผู้มีสิทธิ ผู้บังคับบัญชาภายใน 1 ปี  กรณีปกตินับแต่วันเปิดภาคเรียนของแต่ละภาคสำหรับสถานศึกษาที่เรียกเก็บเป็นรายภาคเรียนหรือวันเปิดภาคเรียนภาคต้นของปีการศึกษาสำหรับสถานศึกษาเรียกเงินค่าการศึกษาครั้งเดียวตลอดปี กรณีถูกสั่งพักราชการ/ออกจากราชการไว้ก่อน นับแต่วันที่ กรณีถึงที่สุด

  18. การยื่นขอเบิกเงินค่าการศึกษาของบุตรการยื่นขอเบิกเงินค่าการศึกษาของบุตร ผู้มีสิทธิ ผู้บังคับบัญชาภายใน 30 วัน  กรณีขอผ่อนผัน / กู้ยืมจาก กยศ. /กรอ. นับแต่วันที่ออกหลักฐานการรับเงินของสถานศึกษา • ก

  19. ตัวอย่าง ตัวอย่าง • สถานศึกษา A • กำหนดเปิดเรียนภาคต้น วันที่ 16 พฤษภาคม ถึง 11 ตุลาคม ของทุกปี • กำหนดเปิดเรียนภาคปลาย วันที่ 1 พฤศจิกายน ถึง 15 มีนาคม ของทุกปี • กำหนดเปิดเรียนภาคฤดูร้อน วันที่ 1 เมษายน ถึง 30 เมษายน ของทุกปี • ค่าการศึกษาของบุตร 1 ปีการศึกษา • ภาคเรียนที่ 1/2554 • ตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม 2554- 15 พฤษภาคม 2555 • ภาคเรียนที่ 2/2554 • ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2554- 31 ตุลาคม 2555 • ภาคฤดูร้อน 2554 • ตั้งแต่วันที่1 เมษายน 2554- 31 มีนาคม 2555

  20. สถานศึกษาของเอกชน สถานศึกษาของทางราชการ หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการศึกษาของบุตร • ระดับ อนุบาล ถึง อนุปริญญาให้ได้รับเงินบำรุงการศึกษา เต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง • ระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินบำรุงการศึกษา เต็มจำนวน ที่ได้จ่ายไปจริง • ระดับไม่สูงกว่ามัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่าให้ได้รับเงิน ค่าเล่าเรียน เต็มจำนวน ที่ได้จ่ายไปจริง • ระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าและหลักสูตรแยกต่างหากจากหลักสูตรปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียน ครึ่งหนึ่ง ของจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง • ระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียน ครึ่งหนึ่ง ของจำนวนที่ได้จ่าย ไปจริง ทั้งนี้ ต้องไม่เกินประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

  21. ระดับอนุบาล - ถึง - ระดับปริญญาตรี ด่วนที่สุด ที่ กค 0422.3/ว 390 ลว.30ต.ค..2552 ประเภทและอัตราการจ่ายเงิน สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

  22. เงินบำรุงการศึกษา เงินประเภทต่าง ๆ ที่สถานศึกษาของทางราชการเรียกเก็บตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนราชการเจ้าสังกัด หรือ ที่กำกับ มหาวิทยาลัย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง หรือองค์กรของรัฐบาล

  23. สถานศึกษาของทางราชการสถานศึกษาของทางราชการ • อนุบาล หรือไม่เทียบเท่า ไม่เกินปีละ 4,650 บาท • ประถมศึกษาหรือเทียบเท่า ไม่เกินปีละ 3,200 บาท • มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า ไม่เกินปีละ 3,900 บาท • มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ไม่เกินปีละ 3,900 บาท • อนุปริญญาหรือเทียบเท่า ไม่เกินปีละ 11,000 บาท

  24. รายการค่าใช้จ่าย • ค่าสอนคอมพิวเตอร์ กรณีที่รัฐจัดเกินมาตรฐาน... • ห้องเรียนพิเศษ EP (English Program) • ห้องเรียนพิเศษ MEP (Mini English Program) • ห้องเรียนพิเศษด้านภาษาต่างประเทศ ด้านวิชาการ และด้านอื่น ๆ • ค่าจ้างครูชาวต่างประเทศ • ค่าจ้างครูที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ

  25. ค่าธรรมเนียมการศึกษา (สถานศึกษาไม่ขอรับเงินอุดหนุนจากรัฐ) ค่าธรรมเนียมการศึกษา (สถานศึกษาขอรับเงินอุดหนุนจากรัฐ) เงินค่าเล่าเรียน เงินค่าธรรมเนียมการเรียนหรือค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ซึ่งสถานศึกษาของเอกชนเรียกเก็บตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ค่าเล่าเรียน

  26. สถานศึกษาเอกชน • ค่าธรรมเนียมการศึกษา (ไม่รับการอุดหนุน) • ค่าธรรมเนียมการศึกษา (รับการอุดหนุน) ตัวอย่างระดับการประถมศึกษา ค่าธรรมเนียมการศึกษา(ไม่รับ) ปีละไม่เกิน 10,856 บาท ค่าธรรมเนียมการศึกษา(รับ) ปีละไม่เกิน 3,460 บาท รัฐอุดหนุนให้โรงเรียน คนต่อปี 7,086 บาท

  27. สถานศึกษาเอกชน ระดับ ปวส.สาขาวิชาช่างอุตสาหกรรม กระทรวงการคลังกำหนดอัตราปีละไม่เกิน 30,000 บาท สถานศึกษาได้รับอนุญาต 30,000 บาท สถานศึกษาเรียกเก็บ 40,000 บาท เบิกได้เท่าไร ? 20,000 บาท หรือ 15,000 บาท ตัวอย่าง

  28. การเบิกจ่ายเงินค่าการศึกษาของบุตรในระดับปริญญาตรีการเบิกจ่ายเงินค่าการศึกษาของบุตรในระดับปริญญาตรี • ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่สถานศึกษาได้รับอนุญาตให้เรียกเก็บตามระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศของสถานศึกษานั้นๆ ทั้งนี้ ไม่รวมค่าปรับต่างๆ ค่าลงทะเบียนล่าช้า ค่าลงทะเบียนเรียนซ้ำเพื่อปรับผลการเรียน (รีเกรด) ค่าประกันอุบัติเหตุ ค่าประกันของเสียหาย ค่าหอพัก ค่าอาหาร ค่าซักรีด และค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา

  29. สถานศึกษาของทางราชการสถานศึกษาของทางราชการ ให้เบิกจ่ายได้เต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริงแต่ไม่เกินปีละ 20,000 บาท สถานศึกษาของเอกชน ให้เบิกจ่ายได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ได้ไปจ่ายจริงแต่ไม่เกินปีละ 20,000 บาท อัตราการเบิกจ่ายเงินค่าการศึกษาของบุตรในระดับปริญญาตรี ตัวอย่าง(สถานศึกษาของเอกชน) ภาคเรียนที่ 1/2554 เรียกเก็บค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 40,000 บาท ภาคเรียนที่ 1 เบิกได้เท่าไร ? ภาคเรียนที่ 2/2554เรียกเก็บค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 16,000 บาท ภาคเรียนที่ 2 เบิกได้เท่าไร ?

  30. หลักเกณฑ์การพิจารณา โรงเรียนเอกชน/นานาชาติ ร.ร. ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งเป็น ร.ร. นานาชาติ และเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา ตาม ม. 32 แห่ง พ.ร.บ. ร.ร. เอกชน พ.ศ. 2550 2. หลักสูตรที่ใช้สอน ได้รับอนุมัติจาก ส่วนราชการ 3. กรณี ร.ร. นานาชาติ ศธ. ได้เทียบชั้น และความรู้ เท่าระดับชั้นการศึกษาของไทย

More Related