1 / 93

ผลการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอก

ผลการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอก. ศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). ความเป็นมาของการประกันคุณภาพการศึกษา. คุณภาพการศึกษาไทย การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา การจัดทำ พ.ร.บ.การศึกษา ในหมวด 6.

Download Presentation

ผลการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายนอก ศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

  2. ความเป็นมาของการประกันคุณภาพการศึกษาความเป็นมาของการประกันคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษาไทย การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา การจัดทำ พ.ร.บ.การศึกษา ในหมวด 6

  3. สาระสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาสาระสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา ตอบคำถามให้ชัดว่าสถานศึกษาประสงค์อะไร นิยมอะไร มั่นใจอะไร ต้องการอะไร และมีอะไรเป็นที่สุด ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อ  พัฒนาคุณภาพ  พัฒนามาตรฐานการศึกษา

  4. ระบบประกันคุณภาพการศึกษาระบบประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาคุณภาพ (QC) กระบวนการพัฒนาสู่คุณภาพ กระบวนการ ปรับปรุง คุณภาพ การประกันคุณภาพ (QA) กระบวนการ ตรวจสอบ คุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ (QAu) • การประเมินคุณภาพ • ภายใน (IQA) • ภายนอก (EQA)

  5. ระบบประกันคุณภาพการศึกษาระบบประกันคุณภาพการศึกษา  ระบบประกันคุณภาพภายในซึ่งประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินคุณภาพภายใน

  6. การประกันคุณภาพภายใน : ประกัน 3 ระบบ โดยการทำงานอย่างเป็นระบบครบวงจร วางแผน ปฏิบัติ ประเมิน และปรับปรุง 1. ประกันคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน (หมวด4) 2. ประกันคุณภาพการสอนของครูที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (หมวด 4 : สุจิปุลิ) 3. ประกันคุณภาพการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา โดยการบริหารงานโรงเรียน (หมวด 5 และหมวด 7)

  7. ให้พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสม โดยสถานศึกษาร่วมมือกับชุมชน และสนับสนุนจากต้น สังกัด (สพฐ. และสพท.) เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารสถานศึกษา ต้องทำอย่างต่อเนื่อง จัดทำรายงานประเมินตนเอง เป็นรายงาน ประจำปีทุกปีการศึกษา เชื่อมโยงกับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก

  8. หัวใจของการประกันคุณภาพการศึกษาหัวใจของการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นเรื่องจริงในวิถีชีวิตของผู้เรียน ครู ผู้บริหาร และชุมชน เน้นคิดวางแผน และปฏิบัติจริง จดบันทึกผลที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ การสอน และการบริหาร เป็นเรื่องง่ายๆ ที่ทุกคนทำได้ไม่ยาก

  9. 4. ไม่เน้นทำเอกสารเพื่อประเมินแต่ใช้เอกสาร จากการปฏิบัติจริง เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งสำหรับ การประเมิน เน้นประเมินสภาพจริง 5. การประเมินคุณภาพภายนอก ดูผลการ ดำเนินงานของการประกันคุณภาพภายใน 6. การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นหน้าที่ และ ความรับผิดชอบโดยตรงของผู้บริหาร

  10. พ.ร.บ. การศึกษา สถานศึกษาทุกแห่ง มีการประกันคุณภาพภายใน และ จัดทำรายงานประจำปี 19

  11. มาตรา 49 การประเมินคุณภาพภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ. องค์การมหาชน) รับผิดชอบ 20

  12. มาตรา 49 การประเมินคุณภาพภายนอก ให้สถานศึกษารับการประเมิน ภายนอก อย่างน้อย 1 ครั้งทุก 5 ปี 21

  13. มาตรา 50 สถานศึกษาทุกแห่งให้ความร่วมมือ สมศ. เตรียมรายงานการประเมินตนเอง หลักฐานและให้ข้อมูลจากการปฏิบัติงาน 19

  14. มาตรา 51 สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะของ สมศ. 19

  15. วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอกวัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก ๑. เพื่อศึกษาและยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา ๒. ช่วยสะท้อนจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา ๓. ให้ข้อเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัด

  16. ประโยชน์ ๑. ส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาสู่มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ๒. ช่วยเพิ่มความมั่นใจ และคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษา ๓. ช่วยให้สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชนมีข้อมูลที่จะช่วยตัดสินใจในการวางแผนและดำเนินการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๔. ช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบาย มีข้อมูลสำคัญในภาพรวมเกี่ยวกับคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัด เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายทางการศึกษาและการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึงและเป็นธรรม

  17. รูปแบบกัลยาณมิตรประเมินคุณภาพภายนอก(Amicable Assessment Model : AAM) หลักวิชา การประเมิน = การเสนอแนะเพื่อพัฒนาสู่มาตรฐาน ผู้ประเมิน = หมอโรงเรียน หมอโรงเรียน = ผู้เชี่ยวชาญที่มีกัลยาณมิตรธรรม ๗ มีความ เป็นอิสระ และมีความเป็นกลาง กัลยาณมิตรธรรม๗ = น่ารัก น่าเคารพ น่ายกย่อง รู้จักพูดให้ผลดี อดทนต่อถ้อยคำ สามารถอธิบายเรื่อง ซับซ้อนให้เข้าใจได้ และไม่แนะนำเรื่อง เหลวไหลหรือชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย

  18. ระบบประเมินคุณภาพภายนอก รูปแบบกัลยาณมิตรประเมินคุณภาพภายนอก โดย สมศ. 1. ส่งเสริมและพัฒนา 2. สร้างศรัทธาต่อหมอโรงเรียน 3. เพียรประเมินอย่างกัลยาณมิตร 4. ชี้ทิศและเสริมแรงพัฒนา

  19. รูปแบบกัลยาณมิตรประเมิน : ๔ ขั้นตอน ขั้นที่ ๑ ส่งเสริมและพัฒนา เป้าหมาย สถานศึกษามีเจตคติที่ดีและพร้อมรับการ ประเมินคุณภาพภายนอก วิธีการ ส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาให้พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกด้วยกระบวนการ ๔ ขั้นตอนดังรูปที่ ๑

  20. รูปที่ ๑ รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาให้พร้อมรับประเมินภายนอก สิ่งเร้า กระบวนการ ภาวะการเปลี่ยนแปลง ขั้นที่ ตระหนักในปัญหา การกระตุ้นให้ตระหนัก ๑. สร้างความตระหนัก และเสริมสร้างความ เข้าใจ วิกฤตการณ์ด้าน คุณภาพ ลดความกังวล ให้เข้าใจปัญหา การกระตุ้นให้คิด ข้อมูล เกี่ยวกับการ ประกัน คุณภาพและการ ดำเนินงานที่ผ่าน มาของสถานศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้สภาพความจริง ๒. ปลุกจิตการกระตุ้น ความคิด มุ่งมั่นและมีความคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับกัลยาณมิตรประเมินคุณภาพภายนอก การกระตุ้นให้ปฏิบัติ ค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหา การริเริ่มหรือปรับ ปรุงระบบและกล ไกการประกันคุณ ภาพภายในของ สถานศึกษาและ วางแผนโครงการ ๓. วางแผนและ นำสู่การปฏิบัติ เกิดเจตนานำแนวคิดสู่ปฏิบัติ พัฒนากรอบความคิดในการเสริมแรงทั้งรูปธรรมและนามธรรม การข้อมูลป้อนกลับและเสริมแรง ๔. ประเมินผลการ ปฏิบัติและให้ การเสริมแรง ผลการประเมินผลการ เสริมแรง รณรงค์และเสริมแรงให้เกิดกระบวน การทำงานอย่างต่อเนื่อง

  21. ขั้นที่ ๒ สร้างศรัทธาต่อหมอโรงเรียน เป้าหมาย สถานศึกษาศรัทธาและไว้วางใจต่อผู้ประเมินภายนอกและมีความเป็นมิตรต่อกัน วิธีการ คัดเลือกโดยการฝึกอบรมและพัฒนาผู้ประเมินภายนอกอย่างต่อเนื่องให้เป็นผู้ประเมินภายนอกที่มีคุณลักษณะกัลยาณมิตรธรรม ๗ และเป็นผู้ประเมินมืออาชีพ มีอิสระ และมีความเป็นกลางอย่างแท้จริง

  22. ขั้นที่ ๓ เพียรประเมินอย่างกัลยาณมิตร เป้าหมาย สถานศึกษาได้รับการประเมินยืนยันสภาพจริงเพื่อพัฒนาสู่มาตรฐาน วิธีการ บูรณาการรูปแบบการประเมิน Self Assessment Conformity Assessment Realistic Assessment Empowerment Evaluation และ Qualitative Assessment

  23. ขั้นที่ ๔ ชี้ทิศและเสริมแรงพัฒนา เป้าหมาย สถานศึกษาได้รับการช่วยเหลืออย่างจริงใจและให้แรงเสริม จากต้นสังกัด สมศ. ตลอดจนภาคีอื่นที่เกี่ยวข้อง วิธีการ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างตรงไปตรงมาโดยการชื่นชมความสำเร็จของสถานศึกษา ชี้จุดพัฒนาและให้ข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาสู่มาตรฐานการศึกษาที่พึงประสงค์และให้หนังสือรับรองคุณภาพจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาและให้รางวัลโดยต้นสังกัด

  24. เป้าหมายการให้บริการของ สมศ. • เสริมสร้างให้สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายใน เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก • การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ในปี 2544 – 2548 จำนวน 39,663 แห่ง • ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 38,427 แห่ง • ระดับการอาชีวศึกษา 887 แห่ง • ระดับอุดมศึกษา 349 แห่ง

  25. จำนวนผู้ประเมิน(ข้อมูล ณ วันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๖)

  26. การประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษาการประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษา

  27. การประเมินของ สมศ. การประเมินเพื่อพัฒนาโดยการยืนยันสภาพจริง มิได้รับรองสถาบันการศึกษาในลักษณะของ ISO หรือ การรับรองวิทยฐานะ (ผ่าน-ไม่ผ่าน) รายงานผลการประเมินเป็นรายมาตรฐานโดยเสนอ จุดเด่น จุดด้อย และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา คุณภาพ

  28. กัลยาณมิตรประเมิน ผู้ประเมินเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นที่ยอมรับ ผู้ประเมินเข้าใจสถาบันที่ขอรับการประเมินอย่าง ลึกซึ้ง มีเจตคติที่ดีต่อสถาบัน กำหนดประเด็นและออกแบบประเมินให้สอดคล้องกับพันธกิจ ทิศทาง เอกลักษณ์ของสถาบัน ดำเนินการประเมินได้เข้าถึงความจริงจากสภาพที่เป็นจริง ด้วยวิธีการทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ รายงานการประเมินตามสภาพความจริง พร้อมเสนอแนวทางในการพัฒนา

  29. ผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษาผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)

  30. ผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษาผู้ประเมินภายนอกระดับอุดมศึกษา *ประกอบด้วย ประธาน และผู้ร่วมคณะประเมิน คณะหนึ่งไม่น้อยกว่า 3 ท่าน * คุณสมบัติ อาทิเช่น - มีความรอบรู้ ประสบการณ์ เป็นที่ยอมรับ - ไม่มีผลประโยชน์ขัดแย้งต่อการประกัน คุณภาพภายนอก และสถาบันที่รับการประเมิน

  31. มาตรฐานการประเมิน มาตรฐานการประเมิน 8 + + (+) 8 มาตรฐานภายนอกของ สมศ. + มาตรฐานของต้นสังกัด + มาตรฐานของสถาบัน (+) มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)

  32. มาตรฐานการประเมินภายนอกมาตรฐานการประเมินภายนอก 8 มาตรฐาน 1. ด้านคุณภาพบัณฑิต 2. ด้านการเรียนรู้ 3. ด้านการสนับสนุนการเรียนรู้ 4. ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์

  33. มาตรฐานการประเมินภายนอกมาตรฐานการประเมินภายนอก 8 มาตรฐาน 5. ด้านการบริการวิชาการ 6. ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 7. ด้านการบริหารจัดการ 8. ด้านระบบการประกันคุณภาพภายใน

  34. เกณฑ์การประเมิน การประเมินในรอบแรก ยังไม่มีเกณฑ์การประเมินใน ระดับสถาบัน ยังไม่กำหนด Benchmark

  35. ผลการประเมิน คุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา

  36. จากการสังเคราะห์ผล การประเมินภายนอก สถาบันอุดมศึกษา จำนวน 42แห่ง ผลการประเมินที่ปรากฏ สามารถสรุปได้ดังนี้

  37. มาตรฐานที่ 1 คุณภาพบัณฑิต 1.3.1% การเผยแพร่วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกในระดับชาติ / วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด (4, 36.97, 46.31) 1.3.2 % การเผยแพร่วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกในระดับนานาชาติ / วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด (4, 41.89, 40.74)

  38. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตมีอัตราการได้งานอยู่ในระดับสูง ผู้ใช้บัณฑิตเสนอให้ บัณฑิตพัฒนาทักษะ ด้านภาษาอังกฤษ ตลอดจนภาษาที่สาม ทักษะคอมพิวเตอร์ และคุณลักษณะด้าน ความสามารถในด้านการจัดการ ของบัณฑิตให้มากขึ้น

  39. มาตรฐานที่ 2 ด้านการเรียนรู้ 2.1 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (3 A) (42, 1.98, 0.15) 2.2 ความเห็นของนักศึกษาต่อการสอนอาจารย์ (4 scale) (39, 2.97, 0.16)

  40. มาตรฐานที่ 2 ด้านการเรียนรู้ 2.3 จำนวนกิจกรรม/โครงการของนักศึกษา ต่อนักศึกษา (32, 0.0225, 0.0207) 2.4 จำนวนงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ต่ออาจารย์ (29, 0.0705, 0.0819)

  41. มาตรฐานด้านการเรียนรู้มาตรฐานด้านการเรียนรู้ สถาบันการศึกษาตระหนักและให้ความสำคัญต่อ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นักศึกษา พึงพอใจต่อการสอนของอาจารย์ ยังมีงานวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนรู้ในระดับน้อยมาก

  42. มาตรฐานที่ 3 ด้านการสนับสนุนการเรียนรู้ 3.1 นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า / อาจารย์ประจำ (41, 28.85, 18.83) 3.2 ค่าใช้จ่ายในการเนินการ (บาท) / นักศึกษาฯ (38, 38873.56, 34299.76)

More Related