1 / 28

การใช้ค่ากลางในการสร้างแผนงาน/โครงการ ด้านสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่

การใช้ค่ากลางในการสร้างแผนงาน/โครงการ ด้านสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่. ค่ากลางที่คาดหวัง. ดร. ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สสจ. เชียงใหม่. ตาราง 11 ช่อง. ค่ากลางฯ. ค่ากลางที่คาดหวังของ ชื่อเต็ม : แผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข

aaron
Download Presentation

การใช้ค่ากลางในการสร้างแผนงาน/โครงการ ด้านสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ค่ากลางในการสร้างแผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ ค่ากลางที่คาดหวัง ดร. ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สสจ. เชียงใหม่ ตาราง 11 ช่อง

  2. ค่ากลางฯ ค่ากลางที่คาดหวังของ ชื่อเต็ม : แผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข ความหมาย :กิจกรรมใดๆ ที่ถือปฏิบัติกันอยู่เป็นปกติทั่วไปในพื้นที่ต่างๆ

  3. ค่ากลางฯ <> งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ <> ไม่ทำให้บรรลุผลเชิงปริมาณ (ผ่านเกณฑ์ สปสช.) แต่... = งานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (ระดับกลาง) ได้ทำแล้ว = ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ)

  4. แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  5. ค่ากลางที่จังหวัดประกาศแล้วค่ากลางที่จังหวัดประกาศแล้ว งาน 3-5 งาน 1. โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. โรคไข้เลือดออก 3. อาหารปลอดภัย 4. อนามัยแม่และเด็ก งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน

  6. ประเภทการประเมิน การประเมินศักยภาพชุมชน • การประเมินภายใน – พื้นที่ประเมินกันเอง เพื่อ...นำผลการประเมินไปปรับปรุงงาน • การประเมินภายนอก – คนนอก (คปสอ. หรือ วิทยากรระดับเขตและจังหวัด) เป็นผู้ประเมิน เพื่อ...วัดระดับของการพัฒนา วางแผนสนับสนุน หรือ Benchmarks กับพื้นที่อื่น

  7. การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการ ระดับ 1 2 3 4 5 1. ค่ากลาง แสดงงานสำหรับโครงการ (ก ที่พบปฏิบัติอยู่ทั่วไปในจังหวัด 2. ค่ากลางไม่ใช่มาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ 3. หากโครงการ (ก) ที่กำลังประเมินมีงานเปรียบเทียบได้กับค่ากลาง ให้คะแนน = 3 4. หากมีงานมากหรือน้อยกว่าค่ากลาง คะแนนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามเกณฑ์ที่จังหวัดกำหนด 5. จังหวัดสามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาได้โดยการตั้งเกณฑ์เพื่อผลักดันงานไปในทิศทางที่ต้องการ

  8. การสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลางการสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลาง

  9. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินรายกิจกรรม • ระดับ1 พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ1งานหรือไม่ได้ทำ • ระดับ2 พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง1ถึง2งาน • ระดับ3 พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง3ถึง4 งาน หรือทุกงาน

  10. เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) เกณฑ์การประเมินภาพรวม • ระดับ 1 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 • ระดับ 2 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 2 และไม่มีกิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 • ระดับ 3 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วทั้ง 7 กิจกรรมได้รับการประเมินเป็นระดับ 3

  11. ระดับ4 เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช. • ระดับ5 เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 4 แล้วเปิดเป็น รน.สช.รวมทั้งมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายของแผนงาน/โครงการดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้(เกิดกล่องสุดท้ายของ SLM ของแผนงาน/โครงการนั้น) อย่างน้อยร้อยละ10ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด หรือเป็นพื้นที่ที่สามารถนำค่ากลางไปสร้างแผนงาน/โครงการที่บูรณาการร่วมกัน เช่น โครงการคัดกรองโรคที่บูรณาการร่วมกันทั้งการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไข้เลือดออกอาหารปลอดภัย ฯลฯ

  12. DM+HT FS

  13. การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน/โครงการการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน/โครงการ เมื่อใช้ค่ากลาง จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รนสช.ทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง สร้าง รนสช. 3 5 1 2 4 3 ระดับ การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง

  14. การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดการพัฒนาหลังจากมีการกำหนด ค่ากลางของจังหวัด

  15. การปรับทิศทางของแผนงานสุขภาพการปรับทิศทางของแผนงานสุขภาพ สู่การพัฒนาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย

  16. ขั้นตอนของการพัฒนาหลังการกำหนดค่ากลาง นำนำงานกลางเข้าตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการสำหรับหลายประเด็น จังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น/ตำบล

  17. ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน ประเด็น เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก โครงการ(1 ปี) กิจกรรม 1. ใช้ SRM/ ค่ากลาง 2. เฝ้าระวัง/ คัดกรอง 3. ใช้มาตรการสังคม บรรจุงานที่คัดเลือกเป็นค่ากลางลงในช่องต่างๆให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง 4. ปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล 5. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 6. สื่อสาร 7. สนับสนุน แผนงานรายประเด็น(2-4 ปี)

  18. บูรณาการงานของหลายประเด็นเพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากรบูรณาการงานของหลายประเด็นเพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม (Activity-based Project) 7 โครงการ ประเด็น เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก โครงการ(1 ปี) กิจกรรม 1. ใช้ SRM / ค่ากลาง 1 2 3 4 5 6 7 ชุดงานรวม ชุดงานเฉพาะ 2. เฝ้าระวัง / คัดกรอง ชุดงานรวม 3. ใช้มาตรการทางสังคม ชุดงานรวม 4. ปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล ชุดงานรวม 5. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย ชุดงานรวม 6. สื่อสาร ชุดงานรวม 7. สนับสนุน ชุดงานรวม แผนงานรายประเด็น(2-4 ปี) เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก ฯลฯ

  19. ตัวอย่าง การบูรณาการงานเฝ้าระวังในประเด็นต่างๆ (จัดชุดงานตามสี เว้นสีดำเป็นงานเฉพาะ)

  20. การปรับโครงสร้างแผนสุขภาพของท้องถิ่น / ตำบล

  21. 2 1 3 7 ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4 7 6 5

  22. 7 กิจ-กรรมสำคัญ งานที่ประกาศในค่ากลางจากจังหวัด หรือมาจากช่องที่ 4และ5 สนับ สนุนงานในช่องที่ 5 (จากกล่องต่างๆ ของ SRM) 7 กิจกรรมหลัก ค่ากลางที่จังหวัดประกาศ

  23. ใช้ข้อมูลจากตาราง 11 ช่องสร้างแผนงานที่มีความสัมพันธ์กัน อย่างน้อย 3 แผนงาน

  24. สร้างโครงการด้วย 7 กิจกรรมที่สามารถตอบสนองได้ทุกแผนงาน กลุ่มแผนงาน 7 โครงการที่สร้างเพื่อตอบสนอง ได้ทุกแผนงาน โครงการ

  25. สรุปกระบวนการ ขั้นตอนของการจัดการค่ากลาง

More Related