1 / 45

บทที่ 9 สมดุลเคมี

บทที่ 9 สมดุลเคมี. Chemical Equilibrium. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร. สมดุลเคมี ( Chemical Equilibrium ). สมดุลเคมี คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราย้อนกลับมีค่าเท่ากัน และความเข้มข้นของทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา.

Thomas
Download Presentation

บทที่ 9 สมดุลเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 9 สมดุลเคมี Chemical Equilibrium ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

  2. สมดุลเคมี ( Chemical Equilibrium ) สมดุลเคมีคือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราย้อนกลับมีค่าเท่ากัน และความเข้มข้นของทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา Reactants Products

  3. สมดุลกายภาพ ( Physical Equilibrium ) H2O(l)H2O(g) สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium) N2O4(g)2 NO2(g) ไม่มีสี น้ำตาลแดง

  4. N2O4(g) 2 NO2(g) ไม่มีสี น้ำตาลแดง

  5. ที่สมดุล ถ้าเอา [ NO2 ] / [ N2O4 ] ค่าที่ได้ไม่เท่ากัน แต่ถ้าเอา [ NO2 ]2 / [ N2O4 ] = ค่าคงที่ = 4.63  10- 3 เลข 2 คือ สัมประสิทธิ์ (coefficient) ของ NO2 ในสมการ ค่าคงที่สมดุล (equilibrium constant) = K = = 4.63  10- 3 สรุป สำหรับปฏิกิริยาทั่วไปที่ผันกลับได้ ดังสมการ aA + bB  cC + dD เมื่อ a , b , c และ d เป็นสัมประสิทธิ์ปริมาณสัมพันธ์ของสาร A , B, C และ D ตามลำดับ

  6. ค่าคงที่สมดุล ( K) ณ อุณหภูมิหนึ่งหาได้จาก K = ขนาดของค่าคงที่สมดุล : ค่าคงที่สมดุลจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแต่ละปฏิกิริยาและขึ้น อยู่กับอุณหภูมิ การทราบค่า K มีความสำคัญดังนี้ - ที่สมดุลสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีปริมาณสัมพัทธ์เป็นเท่าใด - ทราบว่าปฏิกิริยามีผลได้ ( yield ) สูงหรือต่ำอย่างไร

  7. กรณีที่ 1 : ถ้า K >> 1 เช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 2300 oC 2O3(g)  3O2(g) K = = 2.54  1012 ที่สมดุล ระบบจะมี O2 ปนอยู่กับ O3 แต่จะมี O3 << O2 ดังนั้นถ้า [O2] = 0.50 M ที่สมดุล จะได้ [O3]2 = = 2.22  10 – 7 M

  8. กรณีที่ 2: ถ้า K << 1 เช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 25 oC Cl2(g)  Cl(g) + Cl(g) K = = 1.4  10 - 38 ระบบสมดุลจะมี Cl2 >> Cl ถ้า [Cl2 ] = 0.76 M จะได้ [Cl]2 = (0.76)(1.4  10 – 38) = 1.1  10 – 38 M [Cl] = 1.0  10 – 19 M จะเห็นว่า Cl มีความเข้มข้นต่ำมากเมื่อเทียบกับ Cl2

  9. กรณีที่ 3 : ถ้า K มีค่าไม่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับ 1 สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ที่สมดุลจะมีปริมาณพอๆกันเช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 380 oC CO(g) + H2O(g)  H2(g) + CO2(g) K = = 5.10 ถ้า [CO] = 0.200 M, [H2O] = 0.400 M และ [H2] = 0.300 M ที่สมดุล จะได้ [CO2] = = 1.36 M

  10. สมดุลเอกพันธุ์ (homogeneous equilibrium) : สมดุลของปฏิกิริยาที่สารทั้งหมดในปฏิกิริยาอยู่ในวัฏภาคเดียวกัน เช่น ในปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O4(g)  2 NO2(g) - ในรูป KC เป็นค่าคงที่ในรูปความเข้มข้น (M, mol/L) Kc = - ในรูป Kp เป็นค่าคงที่ในรูปของความดัน (atm) Kp =

  11. โดยทั่วไป KCKp แต่เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง KC กับ Kp ไ ด้ดังสมการนี้ aA(g) bB(g) KC = Kp = เมื่อ PA และ PB เป็นความดันย่อยของ A และ B PAV = nART PBV = nBRT PA = PB =

  12. แทนค่า PA และ PB นี้ลงในสมการของ Kp จะได้ Kp = = เนื่องจาก nA / V และ nB / V มีหน่วยเป็น mol/L จึงแทนได้ด้วย [A] และ [B] ตามลำดับ จะได้

  13. Kp = = Kc เมื่อ n = b – a = จำนวนโมลรวมของก๊าซผลิตภัณฑ์ – จำนวนโมลรวมของก๊าซตั้งต้น R = 0.082 L.atm/K.mol ถ้า aA + bB  cC + dD Kc = Kp =

  14. KP = KC n = (c + d) – (a + b)

  15. ตัวอย่างที่ 1 จากสมดุลของ PCl5(g)  PCl3(g) + Cl2(g) ถ้า KP = 1.05 ที่ 250 oC ความดันย่อย PCl5 = 0.8 atm , PCl3 = 0.4 atm จงหาความดันย่อย Cl2 ที่สมดุล (250 oC) KP = 1.05 =  = 2.10 atm

  16. ตัวอย่างที่ 2 N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g) ถ้า KP = 4.3  10– 4 ที่ 200 oC จงหาค่า KC จาก KP = KC T = 273 + 200 = 473 K n = 2 – (3 + 1) = - 2 mol แทนค่า 4.3  10 – 4 = KC (0.082  473) – 2 KC = 0.65

  17. สมดุลวิวิธพันธุ์ (Heterogeneous Equilibrium) : ปฏิกิริยาที่สาร (reactants, products) ไม่เป็น phase เดียวกัน คือ มี gas solid liquid ปนกัน ให้ถือว่าความเข้มข้นของสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว คงที่ เช่น CaCO3(s)  CaO(s) + CO2(g) = KC = [ CO2 ] KP =

  18. ตัวอย่างที่ 3 NH4HS(s) NH3(g) + H2S(g) จงหา KC , KP ถ้า partial pressure ของ gas เท่ากัน = 0.3 KP = = (0.3)(0.3) = 0.09 จาก KP = KC n = 2 – 0 = 2 mol T = 300 K แทนค่า 0.09 = KC (0.082  300)2 KC = 1.49 x 10 – 4

  19. สมดุลหลายขั้นตอน (Multiple Equilibria) ถ้าปฏิกิริยามี products ที่เข้าไปทำปฏิกิริยาต่ออีก 1) A + B  C + D = 2) C + D  E + F = A + B  E + F KC = X = X =

  20. ถ้าปฏิกิริยา เขียนได้จากการรวม  2 ปฏิกิริยา Equilibrium constant ; KC รวม = ผลคูณของ KC ย่อยแต่ละปฏิกิริยา ตัวอย่างที่ 4 จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง KC จากสมการต่อไปนี้ N2(g) + 3 H2(g)  2 NH3(g) K1 = 10 --------- (1) กลับสมการ (1) 2 NH3 (g)  N2(g) + 3H2(g) K2 = = = 0.1 คูณ 3 ทั้งสมการ (1) 3 N2(g) + 9 H2(g)  6 NH3(g) K3 = (K1)3 = (10)3

  21. สรุปหลักการเขียน ค่า K - ความเข้มข้นมีหน่วยเป็น mol/ L - ถ้าเป็นก๊าซให้ใช้ความดัน (atm) ได้ - ถ้าเป็นของแข็ง (s) ของเหลว (l) ไม่ปรากฎใน KC - KC KP ไม่มีหน่วย • สรุปความสัมพันธ์ระหว่างค่า K • เมื่อนำสมการย่อยมารวมกัน ค่า Kc ของสมการใหม่ได้จาก ผลคูณของ Kc • ย่อยแต่ละปฏิกิริยา • - เมื่อกลับสมการ ค่า Kc ของสมการใหม่ได้จากเศษส่วนกลับของ Kc เดิม • เมื่อคูณตัวเลขในสมการเดิม ค่า Kc ของสมการใหม่ได้จากค่า Kc เดิมยก • กำลังตัวเลขที่เอาไปคูณนั้นเอง

  22. ความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมีความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมี 1.ถ้ามี 1 elementary step (ขั้นตอนเดียว) A + 2B  AB2 Forward rate; ratef = kf [A][B]2 Reverse rate ; rater = kr [AB2] ที่สมดุล ratef = rater kf [A][B] 2 = kr[AB2] Kf kr = KC =

  23. ตัวอย่างที่ 5 Cu2+ ไอออนทำปฏิกิริยากับ Fe2+ ไอออนตามปฏิกิริยาข้างล่าง Cu2+ + 2 Fe2+ Cu + 2 Fe3+ จงหาค่า Kc 2. ถ้ามี 2 elementary steps (2 ขั้นตอน) ขั้นแรก : 2B B2 ขั้นสอง : A + B2 AB2 รวม : A + 2B  AB2

  24. ขั้นแรก = = ขั้นสอง = = รวม K / K // = = .   = = KC ไม่ว่าจะเป็น single หรือ multiple step จะได้ KC =

  25. ค่า KC บอกอะไรเราบ้าง ? 1. ทำนายทิศทางของปฏิกิริยา (ไปข้างหน้า หรือ ย้อนกลับ) โดยการเปรียบเทียบค่า QC กับ KC QC = ผลหารปฏิกิริยา (reaction quotient) = ** ใช้ความเข้มข้นเริ่มต้นแทนค่า KC =

  26. ถ้า QC = KC สมดุล QC > KC มี product มากเกินสมดุล ปฏิกิริยาต้องย้อนกลับ QC < KC มี product น้อยกว่าสมดุล ปฏิกิริยาต้องไปข้างหน้า

  27. ตัวอย่างที่ 6 จากสมดุลของ N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g) จำนวนโมลเริ่มต้น 0.8 mol 0.4 mol 0.1 mol ในภาชนะ 2 L จงแสดงการเปรียบเทียบค่า KC , QC สมดุลหรือไม่ ถ้าไม่สมดุลทิศทางของปฏิกิริยาไปทางไหน ( เมื่อ KC = 0.65 ) โจทย์กำหนดจำนวนโมลเริ่มต้นให้เปลี่ยนเป็นความเข้มข้น (mol/L, M) [N2]0 = 0.8 mol / 2 L = 0.4 mol/L [H2]0 = 0.4 mol / 2 L = 0.2 mol/L [NH3]0 = 0.1 mol / 2 L = 0.05 mol/L

  28. QC = =  QC = 0.78 เมื่อ KC = 0.65 ดังนั้น QC > KC ( ไม่สมดุล ) ปฏิกิริยาจะมีทิศทางย้อนกลับ (reverse) (ขวาไปซ้าย)

  29. ตัวอย่างที่ 7 ที่อุณหภูมิ 350 oC N2(g) + 3 H2(g)  2NH3(g) ค่า Kc = 2.37  10 - 3 ที่สมดุล (M) 0.683 8.80 1.05 ถ้าเพิ่ม [ NH3 ] เป็น 3.65 M จงทำนายทิศทางของปฏิกิริยา ( จาก QC , KC ) เมื่อเพิ่ม [NH3] ระบบปรับตัวปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด [ NH3 ] ลง QC = = = 2.86  10-2  QC > KC ดังนั้นปฏิกิริยาไปทางซ้าย จนกว่า QC = KC

  30. ตัวอย่างที่ 8 ที่อุณหภูมิ 430 oC 2NO(g) + O2(g)  2NO2(g) ค่า KP = 1.5  105 ความดัน ( atm ) 0.001 0.02 0.50 จงคำนวณหา QP และทิศทางของปฏิกิริยา QP = = = 1.8  105 ดังนั้น QP > KP ปฏิกิริยาไปทางซ้าย

  31. ตัวอย่างที่ 9 จากสมดุลของ A  B เมื่อ [A]0 = 0.5 mol/L และ KC = 1.5 จงหา [A] , [B] ที่สมดุล A  B เริ่มต้น (M) 0.5 0 เปลี่ยนแปลง (M) - x + x สมดุล (M) 0.5 – xx แทนค่า KC = 1.5 = x = 1.5(0.5 - x) x = 0.75 - 1.5x

  32. 2.5 x = 0.75 x = 0.3 ดังนั้นที่สมดุล [A] = 0.5 – 0.3 = 0.2 M [B] = 0.3 M *check ; KC = = 1.5 ตัวอย่างที่ 10 A2(g) + B2(g)  2 AB(g) เริ่มต้น (mol) 0.5 0.5 ในภาชนะ 1 ลิตร ที่อุณหภูมิ 430 oC ค่า KC = 49 จงหา [A2], [B2] และ [AB] ที่สมดุล

  33. A2(g) + B2(g)  2AB(g) เริ่มต้น (M) 0.5 0.5 0 เปลี่ยนแปลง (M) - x - x 2x สมดุล (M) (0.5 – x) (0.5 – x) 2x แทนค่า KC = 49 = 49 =

  34. 7 = 2x = 7(0.5 – x ) 2x = 3.5 – 7x 9x = 3.5 x = 0.39 M ดังนั้นที่สมดุล [A2] = 0.5 – 0.39 = 0.11 M [B2] = 0.5 – 0.39 = 0.11 M [AB] = 2(0.39) = 0.78 M

  35. ตัวอย่างที่ 11 A2 + B2 2 AB KC = 49 เริ่มต้น (M) 1.0 1.0 1.0 เปลี่ยนแปลง (M) - x - x + 2 x สมดุล (M) (1.0 – x) (1.0 – x) (1.0 + 2x) แทนค่า KC = 49 = 49 =

  36. 7= 7(1.0 – x) = 1.0 + 2 x 9 x = 6 x = 0.67 ดังนั้นที่สมดุล [A2] = 1.0 – 0.67 = 0.33 M [B2] = 1.0 – 0.67 = 0.33 M [AB] = 1.0 + 2(0.67) = 2.34 M

  37. ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี (Factors that affect chemical equilibrium) 1. ความเข้มข้น 3. ปริมาตร 2. ความดัน 4. อุณหภูมิ เมื่อระบบสมดุลถูกรบกวนด้วยปัจจัยเหล่านี้ ระบบจะปรับตัวเองให้เข้าสู่สมดุล ใหม่อีกครั้ง ตามหลักของเลอชาเตอรลิเยร์ ( Le Chatelier’s Principle) ที่กล่าวว่า “ เมื่อระบบสมดุลถูกรบกวนจนสมดุลเสียไประบบจะปรับตัวในทิศทางที่ทำให้ ปัจจัยรบกวนลดน้อยที่สุด เพื่อระบบจะเข้าสู่สมดุลเดิม ”

  38. ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมีปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี 1. การเปลี่ยนความเข้มข้น Fe(CNS)3 ละลายน้ำ FeCNS2+(aq)  Fe3+(aq) + CNS -(aq) แดง เหลืองอ่อน ไม่มีสี - ถ้าเติม Fe(NO3)3เพิ่ม Fe3+ : ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด [ Fe3+] ได้สีแดง - ถ้าเติม NaCNS เพิ่ม CNS - : ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด [ CNS-] ได้สีแดง - ถ้าเติม H2C2O4 ( ได้ C2O42- จับกับ Fe3+ ) ลด Fe3+ : ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางขวาเพื่อเพิ่ม [ Fe3+] ได้สีเหลือง

  39. 2. เปลี่ยนความดันและปริมาตร ถ้าสารเป็น solid , liquid การเปลี่ยน P , V ไม่มีผล แต่ถ้าสารเป็น gas การเปลี่ยน P , V มีผลมาก จาก PV = nRT  P = RT  P  1 / V ดังนั้น ถ้าเพิ่ม P = ลด V ทำให้ความเข้มข้นเพิ่ม (n/ V)

  40. ตัวอย่างที่ 12 N2O4(g)  2NO2(g) QC =  ถ้า เพิ่ม P = ลด V = เพิ่มความเข้มข้น ดังนั้น [NO2 ], [N2O4 ] ต่างก็เพิ่มขึ้นทั้งคู่ แต่ [NO2 ]2 จะเพิ่มขึ้นมากกว่า [N2O4 ]  QC > KC ปฏิกิริยาจึงดำเนินไปทางซ้าย แต่ถ้า ลด P = เพิ่ม V = ความเข้มข้นลดลง ดังนั้น [NO2 ]2 ลดลงมากกว่า [N2O4 ] เช่นกัน  QC < KC ปฏิกิริยาจึงดำเนินไปทางขวา

  41. ตัวอย่างที่ 13 จงทำนายทิศทางของปฏิกิริยา ถ้าเพิ่ม P (ลด V) ที่ T คงที่ 1) 2 PbS(s) + 3 O2(g)  2 PbO(s) + 2 SO2(g) QC = V ลด = [SO2]2 น้อยกว่า [O2]3 ดังนั้น QC < KC ปฏิกิริยาไปทางขวา • PCl5(g)  PCl3(g) + Cl2(g) • QC = • [PCl3 ][Cl2 ] เพิ่มขึ้นมากกว่า [PCl5 ] ดังนั้น QC > KC ปฏิกิริยาไปทางซ้าย

  42. H2(g) + CO2(g)  H2O(g) + CO(g) • QC = • เนื่องจากความเข้มข้นที่เป็น gas เท่ากัน ดังนั้น QC = KC ไม่มีผลต่อปฏิกิริยา ตัวอย่างที่ 14 2 NOCl(g)  2 NO(g) + Cl2(g) ถ้าลดความดัน จงทำนายทิศทางของปฏิกิริยา QC = จำนวนโมล product > reactant (3) (2) ลด P = ความเข้มข้นลดลง  QC < KC ดังนั้นทิศทางไปทางขวา

  43. 3. การเปลี่ยนอุณหภูมิ ถ้าเปลี่ยน ความเข้มข้น ปริมาตร ความดัน = เปลี่ยนสมดุล การเปลี่ยนอุณหภูมิ = เปลี่ยน KC ถ้า N2O4(g)  2NO2(g) Ho = 58.0 kJ ดูดความร้อน 2NO2(g)  N2O4(g) Ho = -58.0 kJ คายความร้อน ปฏิกิริยาไปข้างหน้า  ถ้า  T =  Heat ทำให้เพิ่ม endothermic reaction ( ดูดความร้อน ) ถ้า  T =  Heat ทำให้เพิ่ม exothermic reaction ( คายความร้อน )

  44. 4. ผลจาก catalyst - ช่วยลด activation energy ( Ea ) - ทำให้อัตราเร็วของปฏิกิริยาเร็วขึ้น ทั้งไปข้างหน้าและย้อนกลับ - ไม่มีผลต่อ KC และ equilibrium

  45. ตัวอย่างที่ 15 จากสมดุล 4NH3(g) + 5O2(g)  4NO(g) + 6H2O(l) Ho = - 248 kJ จงทำนายทิศทางการดำเนินไปของปฏิกิริยาเมื่อรบกวนสมดุลดังต่อไปนี้ ปัจจัยการรบกวน ทิศทางที่ปฏิกิริยาดำเนินไป a. เพิ่ม NH3 (g) b. ลด O2 (g) c. ลด NO (g) d. เพิ่มปริมาตรของภาชนะบรรจุ 2 เท่า e. เพิ่มอุณหภูมิ f. เพิ่มความดัน ไปข้างหน้า ย้อนกลับ ไปข้างหน้า ย้อนกลับ ย้อนกลับ ไปข้างหน้า

More Related