1 / 62

Terrorism

Terrorism. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2551: Dirty bomb threat, New York. นิยาม.

Michelle
Download Presentation

Terrorism

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Terrorism นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  2. 2551: Dirty bomb threat, New York

  3. นิยาม • Terrorism is an anxiety-inspiring method of repeated violent action, employed by (semi-) clandestine individual, group or state actors, for idiosyncratic, criminal or political reasons, whereby — in contrast to assassination — the direct targets of violence are not the main targets. The immediate human victims of violence are generally chosen randomly (targets of opportunity) or selectively (representative or symbolic targets) from a target population, and serve as message generators. Threat- and violence-based communication processes between terrorist (organization), (imperilled) victims, and main targets are used tomanipulate the main target (audience(s)), turning it into a target of terror, a target of demands, or a target of attention, depending on whether intimidation, coercion, or propaganda is primarily sought (Schmid, 1988).

  4. ลักษณะสำคัญ ใช้ความรุนแรง หรือการขู่ ปฏิบัติการโดยบุคคลหรือองค์กรลับ เลือกเป้าหมายที่เป็นพลเรือนหรือเป็นสัญลักษณ์ ส่งผลกระทบต่อจิตใจ สร้างความกลัว เรียกร้องความสนใจ หวังผลทางการเมือง

  5. อุบัติการณ์ของการก่อการร้ายทั่วโลกอุบัติการณ์ของการก่อการร้ายทั่วโลก ที่มา: Office of the Coordinator for Counterterrorism

  6. 2544: 9/11 เสียชีวิต 2,993 คน

  7. 2545: ระเบิดบาหลีเสียชีวิต 202 คน

  8. 2546: การรุกรานอิรัก เสียชีวิต: ชาวอิรัก 655,000 + ทหารอเมริกัน 3,698 คน

  9. 2549: ระเบิดลอนดอน เสียชีวิต 52 คน

  10. ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

  11. จำนวนเหตุการณ์ตั้งแต่ 2536 - 2547 > 800 Deaths เสียชีวิต > 800 ราย ที่มา: ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11

  12. เหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทางเหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทาง

  13. ระเบิด Show room รถ 9 จุดอ.เมือง ยะลา 9 พ.ย. 49

  14. ความรุนแรง

  15. เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ของคนในสังคม ความหวาดระแวงอคติ ความเกลียดชัง การบาดเจ็บ เสียชีวิต ความรุนแรง • ยุทธวิธี “สร้างอาณาจักรแห่งความกลัว” • การเมืองว่าด้วยอัตลักษณ์: - ชาติพันธุ์มลายู - ศาสนาอิสลาม - ประวัติศาสตร์รัฐปาตานี • การครอบงำทางวัฒนธรรม • โครงสร้างการจัดการของรัฐที่ผิดพลาด • ความไม่เป็นธรรม การแย่งชิงฐานทรัพยากร ความขัดแย้ง

  16. การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้(Violence-related Injury Surveillance - VIS)มกราคม - มิถุนายน 2550

  17. Violence-related Injury Surveillance (VIS)http://medipe.psu.ac.th/vis • ความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุข กรมแพทย์ทหารบก และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลให้เอื้อต่อการนำไปใช้พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน กำหนดนโยบายและวางแผน จัดสรรทรัพยากร ควบคุมป้องกันการบาดเจ็บ และช่วยเหลือเยียวยาผู้สูญเสีย • เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 • กลุ่มประชากรที่เฝ้าระวัง คือ ผู้ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต จากการบาดเจ็บจากสาเหตุภายนอกแบบตั้งใจ (Intentional injury) ทุกราย ที่มารับการรักษาหรือชันสูตรพลิกศพที่โรงพยาบาลของรัฐจำนวน 47 แห่งของจังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส • โดยนำข้อมูลระบบเฝ้าระวังฯ เฉพาะเหตุการณ์ที่มีสาเหตุจากความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มาวิเคราะห์ 18

  18. จำนวนเหตุการณ์รายเดือนตั้งแต่ มกราคม 2547 19

  19. สถานที่ :เหตุการณ์

  20. จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและอำเภอที่เกิดเหตุจำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและอำเภอที่เกิดเหตุ 21

  21. Spot Map แสดงจำนวนเหตุการณ์ตามที่เกิดเหตุ(1 จุดแทน 1 เหตุการณ์)

  22. การกระจายของลักษณะสถานที่เกิดเหตุจำแนกตามเดือนการกระจายของลักษณะสถานที่เกิดเหตุจำแนกตามเดือน ม.ค. ก.พ. เม.ย. พ.ค. มี.ค. มิ.ย. ลักษณะสถานที่เกิดเหตุ ถนนหรือทางหลวง บ้าน ที่อยู่อาศัยส่วนตัว สถานที่ค้าขายสินค้าและบริการ สถานที่อื่นๆ นา ไร่ สวน สถานศึกษา / สถานที่สาธารณะ 23 เดือน

  23. เหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทางเหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทาง

  24. สถานที่ :ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต

  25. จำนวนและอัตรา (/แสนประชากร/6 เดือน) ของการบาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) ตามจังหวัดที่เกิดเหตุ 26

  26. จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต ตามจังหวัดที่เกิดเหตุ

  27. จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต จำแนกตามจังหวัดและเดือนที่เกิดเหตุ

  28. จำนวนและอัตรา (/แสนประชากร/ 6 เดือน) ของการบาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) ตามอำเภอที่เกิดเหตุ

  29. จำนวน จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต 5 อันดับแรกจำแนกตามอำเภอและเดือนที่เกิดเหตุ

  30. Area map แสดง อัตราการบาดเจ็บเฉลี่ยและ จำนวนการบาดเจ็บรายเดือนตามอำเภอที่เกิดเหตุการณ์ 31

  31. เวลา : เหตุการณ์

  32. จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและเวลาที่เกิดเหตุการณ์จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและเวลาที่เกิดเหตุการณ์

  33. จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและวันใน 1 สัปดาห์

  34. จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามวันที่ที่เกิดเหตุการณ์ใน 1 เดือน

  35. จำนวนเหตุการณ์รายเดือน-เฉลี่ยตั้งแต่ มกราคม 2547

  36. บุคคล :ผู้บาดเจ็บเสียชีวิต

  37. ลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามกลุ่มอายุ ศาสนา และเพศ 38 38

  38. ลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพ จำนวน 39

  39. ลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพและเดือนที่เกิดเหตุลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพและเดือนที่เกิดเหตุ

  40. ลักษณะกิจกรรมขณะเกิดเหตุ (ICD-10 activity code) 41

  41. การบาดเจ็บเสียชีวิตและการดูแลรักษาการบาดเจ็บเสียชีวิตและการดูแลรักษา

  42. การรักษาผู้บาดเจ็บในโรงพยาบาลการรักษาผู้บาดเจ็บในโรงพยาบาล การชันสูตรพลิกศพนอกโรงพยาบาล 43

  43. จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) 5 อันดับแรก ตามโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา 44

  44. จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) 5 อันดับแรก ตามโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา 45

  45. สาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บ 10 อันดับแรก

  46. สาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บ 10 อันดับแรก

  47. เหตุการณ์ระเบิดในที่สาธารณะเหตุการณ์ระเบิดในที่สาธารณะ 48

  48. การวินิจฉัยสุดท้าย 10 อันดับแรก

  49. การนำส่งจากจุดเกิดเหตุ • ในผู้บาดเจ็บจำนวน 1,291 ราย • มีผู้เสียชีวิตในที่เกิดเหตุจำนวน 153 ราย • มาโรงพยาบาลเอง 247 ราย • หน่วย EMS นำส่ง 79 ราย • ไม่ระบุ 823 ราย • ค่ามัธยฐานของระยะเวลาจากจุดเกิดเหตุถึงโรงพยาบาล 30 นาที (IQR = 15-60 นาที)

More Related