1 / 89

ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2553

ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2553. ขอบเขตเนื้อหา. ลักษณะของรายจ่ายที่เบิกเป็นค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ. รายจ่ายลักษณะค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ที่ได้กำหนด. หลักเกณฑ์ไว้ในกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีและ.

Mercy
Download Presentation

ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2553

  2. ขอบเขตเนื้อหา • ลักษณะของรายจ่ายที่เบิกเป็นค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ • รายจ่ายลักษณะค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ที่ได้กำหนด หลักเกณฑ์ไว้ในกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีและ หนังสือเวียนกระทรวงการคลัง • รายจ่ายลักษณะใดที่ต้องขอทำความตกลงกับกระทรวง การคลัง และรายจ่ายใดที่ไม่ต้องขอทำความตกลงกับ กระทรวงการคลัง

  3. กฎหมายและระเบียบการคลังกฎหมายและระเบียบการคลัง 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2. กฎหมายเงินคงคลัง 3. กฎหมายวิธีการงบประมาณ 4. กฎหมายงบประมาณรายจ่ายประจำปี 5. ระเบียบการบริหารงบประมาณ 6. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง 7. ระเบียบเงินทดรองราชการ

  4. การเบิกเงินงบประมาณ • ประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีแล้ว • ได้รับอนุมัติวงเงินประจำงวดแล้ว • มีข้อผูกพันหรือมีความจำเป็นต้องจ่ายเงินแก่เจ้าหนี้ หรือ ผู้มีสิทธิ • หนี้นั้นถึงกำหนดหรือใกล้ถึงกำหนดต้องจ่ายเงิน

  5. รายจ่ายที่เบิกจ่ายได้รายจ่ายที่เบิกจ่ายได้ กฎหมาย ระเบียบ กระทรวงการคลัง อนุมัติให้จ่ายได้ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง

  6. งบประมาณ หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ จำแนกเป็น 2 ลักษณะ รายจ่ายงบกลาง รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ

  7. รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทั่วไปใช้จ่ายตามรายการที่กำหนดดังนี้ เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ เงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล เงินช่วย การศึกษาบุตร ข้าราชการลูกจ้างและ พนักงานของรัฐ เป็นต้น

  8. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจรายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมายถึง รายจ่ายซึ่งกำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะได้แก่ งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น

  9. งบดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อบริหารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่าย อื่นใดในลักษณะดังกล่าว

  10. หลักดุลยพินิจ( ที่ กค 0502 / ว 101 ลว. 10 ก.ค. 2533) * การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันงบประมาณในงบดำเนินงาน (ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หรืองบอื่นใดที่เบิกจ่ายในลักษณะดังกล่าว) เงื่อนไข*กรณีที่ไม่มี กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติ ค.ร.ม. หรือรายการที่กระทรวงการคลังอนุญาตให้จ่ายในเรื่องนั้นๆ ไว้ ให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณใช้ ดุลยพินิจ อนุมัติจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามหลักความจำเป็น และประหยัด เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่หลักของหน่วยงาน

  11. ระเบียบกระทรวงการคลังระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2553 ให้ยกเลิก ระเบียบฯ ปี 2549 นิยาม “ส่วนราชการ” “หัวหน้าส่วนราชการ” “ค่าใช้จ่าย” รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายในการบริหารงานประจำตามอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ ,เป็นการเบิกจ่ายจากงบดำเนินงานหรืองบรายจ่ายอื่นใดที่เบิกจ่ายในลักษณะเดียวกัน และรวมถึงรายจ่ายที่เกิดจากภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี นิยาม “ส่วนราชการ” “ค่าใช้จ่าย” ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการที่เบิกจ่ายจากงบดำเนินงานในลักษณะค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค หรืองบรายจ่ายใด ที่เบิกจ่ายในลักษณะเดียวกัน

  12. ค่าใช้จ่ายใดที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือหนังสือเวียนของกระทรวงการคลังกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ ให้เบิกจ่ายตามรายการและอัตราที่กำหนดไว้ เช่น ระเบียบปี พ.ศ. 2549 ระเบียบปี พ.ศ. 2553 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เบี้ยประชุมกรรมการ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชุมระหว่างประเทศ เงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสอบแข่งขันบุคคลเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่หักจากเงินค่าธรรมเนียมการสอบนั้น การเช่ารถยนต์มาใช้ในราชการ การประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ การติดตั้งและการใช้โทรศัพท์ของทางราชการ ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานก่อสร้าง • การประกันภัยทรัพย์สิน • ค่าเช่ารถยนต์ของส่วนราชการ • ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • ค่าเบี้ยประชุม • ค่าใช้จ่ายในการรับรองชาวต่างประเทศ • ค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศ • ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม • ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน • ค่าเครื่องแต่งตัวข้าราชการที่เดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว • ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพข้าราชการและลูกจ้างประจำของทางราชการซึ่งถึงแก่ความตายระหว่างเดินทางไปราชการ

  13. การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายตามระเบียบนี้ ส่วนราชการต้องดำเนินการเบิกจ่ายให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรี หลักฐานการจ่าย ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง ให้หัวหน้าส่วนราชการกำกับดูแลการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ** กรณีที่การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายใด ไม่เป็นไปตามระเบียบนี้ อันเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหาย ให้ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่โดยเร็ว **

  14. หมวด 1 ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายสำหรับบุคคลภายนอกที่ปฏิบัติงานให้ส่วนราชการ ให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายเป็นค่าตอบแทนได้ตามที่กระทรวงการคลังกำหนด • ค่าตอบแทนล่ามในการแปลภาษาท้องถิ่น ภาษาต่างประเทศ ภาษามือ • ค่าตอบแทนในการแปลหนังสือ หรือเอกสาร • ค่าตอบแทนในการจัดเก็บหรือสำรวจข้อมูล (เฉพาะช่วงระยะเวลาที่มีการจัดเก็บ/สำรวจข้อมูล • ** ให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายได้ตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ** * กรณีที่ผู้แปล /ผู้จัดเก็บ / ผู้สำรวจข้อมูล เป็นเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ มิให้ได้รับค่าตอบแทน *

  15. หมวด 2 ค่าใช้สอย ว 96 ลว. 16 ก.ย.53 (27 ข้อ) จำเป็น / เหมาะสม / ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ห้ามเบิก ค่าจัดทำสมุดบันทึก สมุดฉีก หรือของชำร่วยในโอกาสต่าง ๆ ค่าจัดพิมพ์ จัดส่ง บัตรอวยพรในเทศกาลต่าง ๆ /พิมพ์นามบัตร ค่าพวงมาลัย ดอกไม้ ของขวัญ เยี่ยมผู้ป่วย /มอบให้บุคคล ส่วนราชการ ในโอกาสต่าง ๆ ค่าทิป เงินหรือสิ่งของบริจาค การจัดสวัสดิการ หรือกิจกรรมนันทนาการในส่วนราชการ ** ให้เป็นไปตามที่กระทรวงการคลังกำหนด ** ค่าใช้สอย

  16. รายการค่าใช้สอยให้เบิกจ่ายตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ 1. ค่าใช้จ่ายเตรียมการ รับ – ส่งเสด็จ 2. ค่าจ้างเอกชนดำเนินงานของส่วนราชการ 3. ค่าใช้จ่ายในการเผยแพร่ / ประชาสัมพันธ์ 4. ค่าพานพุ่มดอกไม้/ พวงมาลา ผู้ทำประโยชน์แก่ประเทศ 5. ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมราชการ 6. ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 7. ค่าซ่อมแซมทรัพย์สินของส่วนราชการ

  17. รายการค่าใช้สอยให้เบิกจ่ายตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ 8. ค่าของขวัญหรือของที่ระลึก 9. ค่าโล่ / ใบประกาศเกียรติคุณ /ของขวัญ / ของรางวัล 10. ค่าทำเว็บไซต์ 11. ค่าธรรมเนียมในการคืนบัตรโดยสาร 12. ค่าธรรมเนียมอื่นๆ ( ตามระเบียบข้อ 18 (5) ) 13. ค่าบริการอินเตอร์เน็ตของผู้เดินทาง 14. ค่าใช้จ่ายในการใช้สถานที่ชั่วคราว

  18. รายการค่าใช้สอยให้เบิกจ่ายตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ 15. ค่าใช้จ่ายในการประดับ ตกแต่งอาคารสถานที่ 16. ค่าบริการกำจัดแมลง 17. ค่าอาหารผู้ป่วยสามัญ / ผู้ถูกควบคุม /คุมขัง 18. ค่าสมาชิก จัดซื้อหนังสือ วารสาร 19. ค่าบริการกำจัดสิ่งปฏิกูล 20. ค่าผ่านทางด่วน 21. ค่าใช้จ่ายในการผลิตรายการ

  19. รายการค่าใช้สอยให้เบิกจ่ายตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ 22. ค่าพาหนะกรณีส่วนราชการไม่สามารถจัดรถส่วนกลางให้ได้ 23. ค่าตรวจสอบเพื่อรับรองระบบการทำงาน 24. ค่าระวาง บรรทุก ขนส่งพัสดุ(ยกเว้นค่าระวาง บรรทุก ขนส่ง กรณีการฝึกอบรม จัดงาน) 25. ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวกับการใช้พัสดุที่ยืมจากหน่วยงานอื่น 26. ค่าตรวจร่างกายของบุคลากร 27. ค่ารักษาพยาบาลสัตว์ และตรวจสุขภาพสัตว์

  20. ค่าใช้จ่ายในการเช่าอาคารและที่ดินค่าใช้จ่ายในการเช่าอาคารและที่ดิน การเช่าอาคารเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน เก็บเอกสารหรือพัสดุต่าง ๆ • เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน500บาท/ตรม./เดือน • ไม่เกิน 50,000.- บาท/เดือน การเช่าที่ดินเพื่อใช้ในราชการ • เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 50,000.- บาท/เดือน กรณีต้องเบิกจ่ายเกินอัตราที่กำหนด ให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ทั้งนี้ อัตราที่เบิกจ่ายต้องไม่สูงกว่าอัตราตามท้องตลาด และบันทึกเหตุผลที่ต้องเบิกจ่ายในอัตรานั้นไว้ด้วย

  21. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีในชั้นศาล การระงับข้อพิพาทโดยการอนุญาโตตุลาการ **ให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ** ค่าสินไหมทดแทน ที่ผู้เสียหายยื่นคำขอให้ ส่วนราชการชดใช้ กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐได้กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอกในการปฏิบัติหน้าที่ ** ให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายโดยปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบนั้น **

  22. หมวด 3 ค่าวัสดุ • - ค่าวัสดุ ตามการจำแนกประเภทรายจ่าย ของสำนักงบประมาณให้หัวหน้าส่วนราชการเบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ เว้นแต่ • (1) ค่าเครื่องแบบ เครื่องแต่งกายที่จัดให้เจ้าหน้าที่ไว้ใช้ ในการ • ปฏิบัติงาน ตามหน้าที่ (2) ค่าเครื่องแบบยามรักษาการณ์ (3) ค่าวัสดุที่ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงาน เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด

  23. หมวด 4 ค่าสาธารณูปโภค เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงจำเป็น / เหมาะสม / ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ 3) ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้มา ซึ่งบริการสื่อสารและโทรคมนาคม 4) ค่าเช่าพื้นที่เว็บไซต์ และค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง 5) ค่าธรรมเนียมธนาคารเกี่ยวกับการทำธุรกรรมทางการเงิน เพื่อความสะดวกของส่วนราชการที่มิใช่เป็นการร้องขอของผู้มีสิทธิรับเงิน 1) ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำ ค่าโทรศัพท์ ของส่วนราชการ และบ้านพักราชการที่ไม่มีผู้พักอาศัย ให้จ่ายเท่าที่จ่ายจริง ในกรณีมีผู้พักอาศัย เบิกจ่ายตามมติคณะรัฐมนตรี หรือตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด 2) ค่าบริการไปรษณีย์ ค่าฝากส่งไปรษณีย์ ค่าบริการไปรษณีย์ตอบรับ ค่าดวงตราไปรษณีย์ หรือค่าเช่าตู้ไปรษณีย์

  24. หมวด 5 บทเฉพาะกาล - บรรดาความตกลงที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่มิได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ และมีอยู่ก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้มีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการยกเลิกหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง - การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายใดที่ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ หรือแนวทางการปฏิบัติตามหนังสือเวียนของกระทรวงการคลังใดที่กำหนดไว้ก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับและยังไม่แล้วเสร็จ ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์หรือแนวทางการปฏิบัตินั้นต่อไปจนแล้วเสร็จ

  25. ค่าใช้จ่ายที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือหนังสือเวียนของกระทรวงการคลังกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ

  26. รายจ่ายประเภทค่าตอบแทนรายจ่ายประเภทค่าตอบแทน ความหมายของเงินค่าตอบแทน เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ปฎิบัติงานให้ทางราชการ

  27. ค่าตอบแทน ความหมาย: เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ ผู้ปฏิบัติงาน ให้แก่ทางราชการ • เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ที่จ่ายประจำ • นอกเหนือเงินเดือน เช่น - เงินประจำตำแหน่งผู้บริหาร -ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา - ค่าตอบแทนกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงาน - เงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการผู้ได้รับเงินเดือนถึงขั้นสูงของอันดับ

  28. ระเบียบ กค. ว่าด้วยค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน ของข้าราชการ และลูกจ้างประจำฯ 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์ 1. ข้าราชการได้เงินเดือน + ตำแหน่ง ให้ได้ค่าตอบแทน เท่ากับเงินตำแหน่ง 2. ข้าราชการประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษให้ได้รับ 3,500 บาท

  29. ระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของ ข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2551 ผู้มีสิทธิ • - ข้าราชการพลเรือน • ข้าราชการทหาร ไม่รวมถึงนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหมและทหารกองประจำการ • ข้าราชการตำรวจไม่รวม พลตำรวจสำรอง • ลูกจ้างประจำ / พนักงานราชการ / ลูกจ้างชั่วคราว

  30. เกณฑ์การจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเกณฑ์การจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว 1. ผู้มีสิทธิได้รับเงินเดือนหรืออัตราค่าจ้างไม่เกินเดือนละ 11,700 บาท ได้รับ เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ 1,500 บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนฯ แล้วต้องไม่เกินเดือนละ 11,700 บาท แต่ถ้าเงินเพิ่มฯ รวมกับเงินเดือนฯ แล้วไม่ถึง 8,200 บาท ให้ได้รับ เงินเพิ่มฯ เพิ่มขึ้น เมื่อรวมกับเงินเดือนฯ เป็น 8,200 บาท 2. การเบิกจ่ายจากเงินงบประมาณงบใด รายการใด ให้เป็นไปตามที่สำนักงบประมาณกำหนด

  31. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่าย เงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550

  32. นิยาม “ส่วนราชการ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หน่วยงานอื่นของรัฐ ในราชการส่วนกลางและภูมิภาค “ข้าราชการ” ได้แก่ ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาข้าราชการรัฐสภา ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการทหาร บุคคลอื่น..อ้างอิง..?? ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวตามระเบียบว่าด้วย การจ่ายค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการพ.ศ. 2526 พนักงานราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547

  33. “เงินตอบแทนฯ” หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการ ที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกติ ลักษณะงานส่วนใหญ่ปฏิบัติในที่ตั้งสำนักงาน และได้ปฏิบัติงานนั้นนอกเวลาราชการ ลักษณะงานส่วนใหญ่ปฏิบัตินอกที่ตั้งสำนักงาน และได้ปฏิบัติงานนั้นนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งสำนักงาน

  34. ผู้มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนฯ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานปกติ - การปฏิบัติงานประจำตามหน้าที่ของข้าราชการ ลักษณะงานปกติ ทำนอกเวลาปกติ ข้าราชการที่ปฏิบัติงาน“เป็นผลัดเป็นกะ” - ส่วนราชการจัดให้ปฏิบัติงานผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน ตลอด 24 ชั่วโมง ผลัดหรือกะหนึ่งๆ ต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง โดยรวมเวลาหยุดพัก ลักษณะงานปกติ เป็นผลัดเป็นกะ และปฏิบัติงานนอกผลัดนอกกะ

  35. “เวลาราชการ”หมายความว่า เวลา 8.30-16.30 น. ของวันทำการ และที่กำหนดเป็นอย่างอื่น “วันทำการ”หมายความว่า วันจันทร์ถึงวันศุกร์และที่กำหนดเป็นอย่างอื่น “วันหยุดราชการ”หมายความว่า วันเสาร์และอาทิตย์ วันหยุดราชการประจำสัปดาห์ที่ส่วนราชการกำหนด เป็นอย่างอื่น และรวมถึงวันหยุดราชการประจำปี หรือวันหยุดพิเศษอื่นๆ ที่ ค.ร.ม. กำหนด

  36. หลักเกณฑ์ ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการ ก่อนการปฏิบัติงาน โดยให้ผู้อนุมัติพิจารณาช่วงเวลาที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ทางราชการ เป็นสำคัญ กรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานไปก่อน โดยมิได้ขออนุมัติไว้ ให้ดำเนินการขออนุมัติโดยไม่ชักช้า โดยแจ้งเหตุความจำเป็น ที่ไม่อาจขออนุมัติก่อนได้

  37. หลักเกณฑ์ (ต่อ) - กรณีได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการ ตามระเบียบว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการฯ ไม่มีสิทธิได้รับเงินตอบแทน - เว้นแต่ ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการอยู่ก่อนการเดินทาง และเมื่อเดินทางเสร็จสิ้นและกลับถึงที่ตั้งสำนักงาน จำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาในวันนั้น ให้เบิกเงินตอบแทนได้

  38. หลักเกณฑ์ (ต่อ) การปฏิบัติงานต่อไปนี้ เบิกไม่ได้ การอยู่เวรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ /ระเบียบหรือคำสั่งอื่น ในการรักษา ความปลอดภัยสถานที่ราชการ การปฏิบัติงานนอกเวลาที่ไม่เต็มชั่วโมง การควบคุม กรณีมีหลายคนร่วมปฏิบัติงานให้คนใดคนหนึ่ง เป็นผู้รับรอง หากปฏิบัติคนเดียว ให้รับรองตนเอง ให้รายงานผลการปฏิบัติต่อผู้อนุมัติภายใน 15 วัน นับแต่เสร็จสิ้น

  39. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในวันทำการ ให้มีสิทธิเบิกได้ไม่เกินวันละ 4 ชั่วโมง ในอัตราชั่วโมงละ 50 บาท การปฏิบัติงานในวันหยุดราชการ ให้มีสิทธิเบิกค่าตอบแทนได้ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ในอัตราชั่วโมงละ 60 บาท

  40. ลักษณะงาน ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมราชพิธี / รัฐพิธีกค.0406.6/ว218 ลว.29 มิ.ย. 2553 1. ราชพิธี 2. รัฐพิธี 3. งานตามมติ ค.ร.ม. 4. งานที่ราชการจัดตามแบบธรรมเนียมประเพณี 5. งานกุศล สาธารณะ

  41. หลักเกณฑ์ ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมราชพิธี / รัฐพิธีกค.0406.6/ว218 ลว.29 มิ.ย. 2553 1. จัดในที่ที่กำหนด 2. อยู่ล่วงเลยเวลาราชการ หรือ วันหยุดราชการ 3. ไม่ใช่งานตามภารกิจปกติ * เบิกค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ *

  42. ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างและควบคุมงานก่อสร้างที่ กค 0406.4/ว 18 ลว. 27 กุมภาพันธ์ 2551ยกเลิก ที่ กค 0502/ว 172 ลว. 26 ตุลาคม 2535 *คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ต้องเป็น ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจากส่วนราชการเจ้าของงบประมาณให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามนัยข้อ 72 / ข้อ 73 ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เกณฑ์การพิจารณาสิทธิได้รับหรือไม่ พิจารณาจาก... + มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งไม่มีสิทธิเบิก +ถ้ามิได้กำหนดชัด แต่เป็นงานมอบหมายให้ปฏิบัติประจำ ไม่มีสิทธิเบิก

  43. ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างและควบคุมงานก่อสร้างที่ กค 0406.4/ว 18 ลว. 27 กุมภาพันธ์ 2551ยกเลิก ที่ กค 0502/ว 172 ลว. 26 ตุลาคม 2535 *เกณฑ์การจ่าย* - เบิกเฉพาะวันที่ปฏิบัติหน้าที่ เบิกไม่เกินกำหนดเวลาในสัญญา - ได้รับแต่งตั้งมากกว่า 1 โครงการ ให้รับเพียงอัตราเดียวที่สูงกว่า - หากได้รับค่าตอบแทนอื่นในเวลาเดียวกันให้งดเบิก - ไม่กระทบสิทธิการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

  44. ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างและควบคุมงานก่อสร้างที่ กค 0406.4/ว 18 ลว. 27 กุมภาพันธ์ 2551ยกเลิก ที่ กค 0502/ว 172 ลว. 26 ตุลาคม 2535 *อัตราการจ่าย คณะกรรมการตรวจการจ้าง - เบิกได้ไม่เกิน 350 บาทต่อคนต่อวัน - กรณีมีการประชุมเพื่อพิจารณารูปแบบรายการ/รายละเอียด เบิกลักษณะเบี้ยประชุมกรรมการ ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง - หัวหน้าผู้ควบคุมงานก่อสร้าง 350 บาทต่อวันต่องาน - ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง(ผู้ปฏิบัติการ) 300 บาทต่อวันต่องาน

  45. ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างและควบคุมงานก่อสร้างที่ กค 0406.4/ว 18 ลว. 27 กุมภาพันธ์ 2551ยกเลิก ที่ กค 0502/ว 172 ลว. 26 ตุลาคม 2535 *อัตราการจ่าย (ต่อ) - กรณีแต่งตั้งบุคคลภายนอก ให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มอีก 1 เท่า * หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณสามารถบริหาร * งบประมาณของส่วนราชการให้เหมาะสม และสอดคล้อง กับวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร

  46. เงินค่าตอบแทนการสอบ พ.ศ. 2549ที่ กค 0409.6/ว.30 ลว. 25 เม.ย.2549 และ กค.0409.6/ว.40 ลว.23 พ.ค.2549 *ประเภท และอัตราการเบิกจ่าย* 1. ข้อสอบแบบปรนัย อัตราค่าตอบแทน -กรรมการออกข้อสอบ (เฉพาะข้อที่เลือก) ไม่เกิน 50 บาท/ข้อ -กรรมการตรวจคำตอบ เป็นรายวิชา ไม่เกิน 4 บาทต่อผู้สอบ 1 คน -กรณีตรวจด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์(ส่วนราชการ) เบิกเท่าที่จ่ายจริง

  47. เงินค่าตอบแทนการสอบ พ.ศ. 2549ที่ กค 0409.6/ว.30 ลว. 25 เม.ย.2549 และ กค.0409.6/ว.40 ลว.23 พ.ค.2549 *ประเภท และอัตราการเบิกจ่าย* 2. ข้อสอบอัตนัย อัตราค่าตอบแทน (1) กรรมการออกข้อสอบ และ ไม่เกิน 35 บาท/ผู้เข้าสอบ 1 คน ตรวจกระดาษคำตอบ(เฉพาะข้อ ที่ได้รับเลือก) เป็นรายวิชา

  48. เงินค่าตอบแทนการสอบ พ.ศ. 2549ที่ กค 0409.6/ว.30 ลว. 25 เม.ย.2549 และ กค.0409.6/ว.40 ลว.23 พ.ค.2549 *ประเภท และอัตราการเบิกจ่าย* ข้อสอบแบบปรนัย และอัตนัยรวมกัน - เบิกจ่ายค่าตอบแทนสำหรับกรรมการ และตรวจกระดาษ คำตอบข้อสอบแบบปรนัยตาม ข้อ 1 แบบอัตนัยในอัตรา กึ่งหนึ่งของอัตราตาม ข้อ 2 - การสอบครั้งใด กรรมการได้รับไม่ถึง 300 บาท ให้ได้รับ 300 บาท

  49. เงินค่าตอบแทนการสอบ พ.ศ. 2549ที่ กค 0409.6/ว.30 ลว. 25 เม.ย.2549 และ กค.0409.6/ว.40 ลว.23 พ.ค.2549 *ประเภท และอัตราการเบิกจ่าย* 1. การสอบสัมภาษณ์ หรือ ประเมินบุคคล อัตราการเบิก - กรรมการไม่เกิน 3 คน เบิกคนละ ไม่เกิน 8 บาท /ผู้สอบ 1 คน - กรรมการเกิน 3 คนให้เฉลี่ยภายในวงเงินที่กรรมการ 3 คนพึงได้รับ

  50. เงินค่าตอบแทนการสอบ พ.ศ. 2549ที่ กค 0409.6/ว.30 ลว. 25 เม.ย.2549 และ กค.0409.6/ว.40 ลว.23 พ.ค.2549 *ประเภท และอัตราการเบิกจ่าย* 2. การทดสอบปฏิบัติงาน อัตราการเบิก - ให้กรรมการได้รับ ไม่เกิน 10 บาท/ผู้สอบ 1 คน 3. การสอบตามข้อ 1 และข้อ 2 ครั้งใดกรรมการได้รับไม่ถึง 300 บาท ให้ได้รับ 300 บาท

More Related