1 / 77

การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาของบรรษัทข้ามชาติและบริษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมอาหาร ยานยนต์และไอที : ความท้าทายเชิงนโยบาย ภัทร

การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาของบรรษัทข้ามชาติและบริษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมอาหาร ยานยนต์และไอที : ความท้าทายเชิงนโยบาย ภัทรพงศ์ อินทร กำเนิด วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ลำดับการนำเสนอรายงานการศึกษา. 1. หลักการเหตุผล 2. แนวทางการศึกษา 3. ผลการศึกษาโครงการ

Antony
Download Presentation

การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาของบรรษัทข้ามชาติและบริษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมอาหาร ยานยนต์และไอที : ความท้าทายเชิงนโยบาย ภัทร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาของบรรษัทข้ามชาติและบริษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมอาหาร ยานยนต์และไอที: ความท้าทายเชิงนโยบาย ภัทรพงศ์ อินทรกำเนิด วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. ลำดับการนำเสนอรายงานการศึกษาลำดับการนำเสนอรายงานการศึกษา 1. หลักการเหตุผล 2. แนวทางการศึกษา 3. ผลการศึกษาโครงการ 4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

  3. 1.

  4. การลงทุนด้าน R&D ของบริษัทขนาดใหญ่ในปัจจุบัน Source: Kaiser Associates' Detailed Findings_Global Development Analysis_04.02.07

  5. ประเทศในเอเชียบางประเทศเริ่มเป็นฐานการทำ R&D ของบรรษัทข้ามชาติ Source: UNCTAD, based on data from LOCOMonitor.

  6. Growth of Foreign R&D Centres in India 145 TNC R&D centres (1998-2003) employed 24398 R&D professionals 1.35 billion US$ R&D investment from 1998 to 2003. 8.6 billion US$ more will come from TNCs like Microsoft (1.7), Intel (1.0), Cisco Systems (1.1) and IBM (6.0)

  7. Qualitative Changes in Business R&D Landscape in India • 250 TNCs opened either stand alone or collaborative/joint R&D centers • US Patent: 559 patents (2000-06) have been granted to foreign entities doing R&D in India • Major Development • From adaptive R&D in 1980s/90s to creative R&Dfor developing products in global market • Software: from services to integration into global production and innovation networks

  8. ประเทศไต้หวัน มีบริษัทข้ามชาติ จำนวน 29 บริษัท ได้เข้ามาตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนา จำนวน 39 ศูนย์ ปัจจุบัน 8 Source: updated from Department of Industrial Technology, MOEA, Taiwan, April 2008

  9. ตัวอย่างมาตรการส่งเสริมการลงทุน R&D ที่น่าสนใจของต่างประเทศ

  10. มาตรการภาษี • Multiple tax rate: เฉพาะค่าใช้จ่าย R&D ที่มากขึ้นกว่าปีก่อนจะได้รับการลดหย่อนภาษีใน % ที่สูงกว่า (ออสเตรเลีย ฯลฯ) • เครดิตภาษี:หักจากยอดภาษีที่ต้องจ่ายจริง • ไอร์แลนด์: เครดิตภาษีได้ร้อยละ 20 ของค่าใช้จ่ายส่วนที่เพิ่มขึ้น • อเมริกา: เครดิตภาษีได้ร้อยละ 20 ของค่าใช้จ่ายที่เพิ่มจากค่าเฉลี่ย 3 ปีก่อน

  11. การให้เงินอุดหนุน • Subsidy ค่าใช้จ่ายในการทำ R&D • ค่าจ้างบุคลากรท้องถิ่น(ไต้หวัน ปากีสถาน) • ค่าจ้าง ค่าเดินทาง ค่าที่พักผู้เชี่ยวชาญต่างชาติ (ไต้หวัน) • ค่าใช้จ่ายในการส่งบุคลากรท้องถิ่นไปฝึกอบรมต่างประเทศ • ค่าใช้จ่ายในการร่วมมือกับสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยท้องถิ่น • ค่าใช้จ่ายในการร่วมมือกับ HQ และ subsidiaries ในประเทศอื่น • Competitive grants for individual firms ( e.g. Small Business Innovation Research – SBIR) • Competitive grants forprivate-sector led consortium • เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของรัฐ (ไต้หวัน) • เพื่อสร้างคลัสเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (ญี่ปุ่น เยอรมัน)

  12. แรงจูงใจด้านโครงสร้างพื้นฐานและสถาบันแรงจูงใจด้านโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน • ที่ดิน ค่าเช่าที่ดิน (สิงคโปร์ จีน) • การตั้ง R&D centre ในภาครัฐมาประกบคู่ (สิงค์โปร์) • ห้องปฎิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบที่ได้มาตรฐานสากล (สิงคโปร์ ไต้หวัน) • Broad-band IT network (เกาหลี ฯลฯ) • โลจิสติกส์ (เช่น ไต้หวันตั้ง R&D centre ในบริเวณสนามบิน) • การให้สัญชาติกับ knowledge worker (สิงคโปร์ ไต้หวัน) • ที่สำคัญคือการให้ incentive เฉพาะตามความต้องการที่แตกต่างกันของแต่ละบริษัท • สิงค์โปร์: ทุกอย่างเจรจาได้หมดกับ Singapore Economic Development Board (EDB) • เวียดนาม: อะไรที่นอกเหนือจากมาตรฐานทั่วไป Politburo สามารถตัดสินใจให้เพิ่มเติมได้

  13. สถานภาพประเทศไทย

  14. ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไทยมีค่าใช้จ่ายด้าน R&D น้อยและคงที่ในขณะที่ หลายประเทศมีค่าใช้จ่ายด้าน R&D เพิ่มขึ้น แหล่งข้อมูล:IMD World Competitive Yearbook 1995-2006

  15. ประเทศไทย รัฐ มีการใช้จ่ายด้าน R&Dมากกว่า เอกชนต่างประเทศ เอกชน มีการใช้จ่ายด้านR&Dมากกว่า รัฐ แหล่งข้อมูล:IMD World Competitive Yearbook 2008

  16. ไทยมีบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาแบบทำงานเต็มเวลาต่อประชากร 1,000คน ในภาคธุรกิจต่อภาคอื่นๆ เมื่อเทียบเชิงสัดส่วนและเชิงปริมาณโดยเฉพาะเมื่อเทียบกับสิงคโปร์เกาหลีใต้ และ ไต้หวัน อยู่น้อยมาก n/a แหล่งข้อมูล:IMD World Competitive Yearbook 2008 หมายเหตุ: แหล่งข้อมูลไม่ได้แสดงข้อมูลของ USA

  17. Innovation Performance

  18. โจทย์วิจัย • หากประเทศไทยต้องการเปลี่ยนจากฐานการผลิตไปสู่ฐานการทำกิจกรรมที่ใช้ความสามารถทางเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การวิจัยและพัฒนา การออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิตขั้นสูง การวิเคราห์และทดสอบขึ้นสูง ประเทศไทยต้องทำอะไรบ้าง • เน้นปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุนด้าน R&D: บุคลากร แรงจูงใจ และ โครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน

  19. Thailand in the ‘Middle-Income’ Trap Pressures from high-income economies Japan Leaders Korea Design / differentiation based competition Technology Pressures from lower-wage economies Technology Capability and Design Innovation Thailand China Low Cost-based competition Followers Vietnam Low Cost Differentiation Competitive Advantage

  20. 2.

  21. วิธีการศึกษา • ทบทวนวรรณกรรม • การสัมภาษณ์บรรษัทข้ามชาติ บริษัทขนาดใหญ่บริษัทขนาดเล็ก และหน่วยงานต่างๆ • สรุปประเด็นจากบทสัมภาษณ์ที่มีการทำไว้เรียบร้อยแล้ว • เก็บข้อมูลจากการสัมมนาทางวิชาการรายอุตสาหกรรมที่จัดโดยองค์กรต่างๆ ภาครัฐ

  22. แนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์แนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ • Global value chain • บริษัทของท่านมีกิจกรรมในประเทศไทยอะไรบ้าง เมื่อเทียบกับที่ทำในประเทศอื่น • มีศูนย์วิจัยพัฒนาจำนวนเท่าใด อยู่ในประเทศอะไรบ้าง กิจกรรมที่ทำต่างกันอย่างไร • มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกลงทุน R&D ในประเทศต่างอย่างไร ความสามารถในการ วิจัย พัฒนา • ความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง • ความสามารถของไทยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น กำลังคน • เพื่อให้สามารถทำ R&D ในประเทศได้ หรือหากจะลงทุนเพิ่มในอนาคต กำลังคน (ปริมาณและคุณภาพ)เพียงพอหรือไม่ ต้องการคนระดับการศึกษาใด สาขาใดที่ต้องการมาก • กำลังคนที่ต้องการต่างจากกำลังคนที่ทำการผลิตหรือไม่ อย่างไร ทักษะหรือความรู้อะไรที่แตกต่าง • ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันสามารถสนองความต้องการนี้ได้หรือไม่ ต้องปรับปรุงอย่างไร • การฝึกอบรมภายในบริษัท กับบริษัทแม่ ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา

  23. แนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ (ต่อ) ความร่วมมือระหว่างภาคสถาบันการศึกษาและภาครัฐ • บริษัทมีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง หรือไม่ ในลักษณะใด เข้มข้นแค่ไหน • ปัญหา อุปสรรคและความสามารถของสถาบัน ทิศทางอนาคต • มีความต้องการที่จะขยายการลงทุนเพิ่มในอนาคตหรือไม่หากต้องการมีความต้องการจำนวน นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย ความสามารถด้านเทคโนโลยี ในระยะสั้น 3-5 ปีเท่าไหร่ สาขาไหนที่ต้องการมากที่สุด • ปัจจุบันการสนับสนุนจากภาครัฐช่วยในการตัดสินใจลงทุนขยายกิจการอย่างไร (ภาษี มาตรการ นโยบาย) และท่านต้องการการสนับสนุนใดเพิ่มเติมบ้าง • ท่านคิดอย่างไร หากรัฐมีโครงมุ่งเน้นการสนับสนุนการตั้ง ศูนย์วิจัย พัฒนา (R&D Center)

  24. กลุ่มอุตสาหกรรมที่เลือกทำการศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมที่เลือกทำการศึกษา 1. อุตสาหกรรมอาหาร 2. อุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. อุตสาหกรรมยานยนต์

  25. บริษัทที่ได้ให้การสัมภาษณ์บริษัทที่ได้ให้การสัมภาษณ์ • Food • Unilever Thai Trading Limited • Mead Johnson Nutrition • Mitr Phol Sugarcane Research Center Co.,Ltd. • Union Thai Group (TUM/TUF) • Betagro • Siam Modified Starch Co.,Ltd. • CP All Plc./ CP Food Plc. • Alltech Biotechnology Co.,Ltd • OCS Co., Ltd. • Electrical Electronics, Information and Communication Technology (ICT) • Intel • Microsoft (Thailand) Limited • Thomson Reuters • Western Digital • Saijo Denki • Tasaki • G Softbiz Co., Ltd. • Embedded Technology Co., Ltd. • Supporting Institute • Harddisk Drive Institute, NSTDA Supporting Company / Organization / Institute TUV SUD PSB (Thailand) Limited Global Star Technologies Co., Ltd. Board of Investment JICA Automotive Nissan Technical Center South East Asia Co., Ltd. Asian Honda Motor Co., Ltd. Denso International Asia Co., Ltd. Benz Toyota Motor Technical Center Daichin Supporting Institute Thailand Automotive Institute Engineering Faculty, Chulalongkorn University. MTEC, NSTDA

  26. ตัวอย่างมาตรการส่งเสริมการลงทุน R&D ที่น่าสนใจของต่างประเทศ

  27. มาตรการภาษี • Multiple tax rate: เฉพาะค่าใช้จ่าย R&D ที่มากขึ้นกว่าปีก่อนจะได้รับการลดหย่อนภาษีใน % ที่สูงกว่า (ออสเตรเลีย ฯลฯ) • เครดิตภาษี:หักจากยอดภาษีที่ต้องจ่ายจริง • ไอร์แลนด์: เครดิตภาษีได้ร้อยละ 20 ของค่าใช้จ่ายส่วนที่เพิ่มขึ้น • อเมริกา: เครดิตภาษีได้ร้อยละ 20 ของค่าใช้จ่ายที่เพิ่มจากค่าเฉลี่ย 3 ปีก่อน

  28. การให้เงินอุดหนุน • Subsidy ค่าใช้จ่ายในการทำ R&D • ค่าจ้างบุคลากรท้องถิ่น(ไต้หวัน ปากีสถาน) • ค่าจ้าง ค่าเดินทาง ค่าที่พักผู้เชี่ยวชาญต่างชาติ (ไต้หวัน) • ค่าใช้จ่ายในการส่งบุคลากรท้องถิ่นไปฝึกอบรมต่างประเทศ • ค่าใช้จ่ายในการร่วมมือกับสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยท้องถิ่น • ค่าใช้จ่ายในการร่วมมือกับ HQ และ subsidiaries ในประเทศอื่น • Competitive grants for individual firms ( e.g. Small Business Innovation Research – SBIR) • Competitive grants forprivate-sector led consortium • เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของรัฐ (ไต้หวัน) • เพื่อสร้างคลัสเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (ญี่ปุ่น เยอรมัน)

  29. R&D remains a key focus of public support … Direct and indirect government funding of business R&D and tax incentives for R&D, 2007 or latest available year As percentage of GDP Source: OECD (2010), Measuring Innovation: A New Perspective, OECD, Paris based on NESTI 2009 R&D tax incentives. questionnaire

  30. แรงจูงใจด้านโครงสร้างพื้นฐานและสถาบันแรงจูงใจด้านโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน • ที่ดิน ค่าเช่าที่ดิน (สิงคโปร์ จีน) • การตั้ง R&D centre ในภาครัฐมาประกบคู่ (สิงค์โปร์) • ห้องปฎิบัติการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบที่ได้มาตรฐานสากล (สิงคโปร์ ไต้หวัน) • Broad-band IT network (เกาหลี ฯลฯ) • โลจิสติกส์ (เช่น ไต้หวันตั้ง R&D centre ในบริเวณสนามบิน) • การให้สัญชาติกับ knowledge worker (สิงคโปร์ ไต้หวัน) • ที่สำคัญคือการให้ incentive เฉพาะตามความต้องการที่แตกต่างกันของแต่ละบริษัท • สิงค์โปร์: ทุกอย่างเจรจาได้หมดกับ Singapore Economic Development Board (EDB) • เวียดนาม: อะไรที่นอกเหนือจากมาตรฐานทั่วไป Politburo สามารถตัดสินใจให้เพิ่มเติมได้

  31. 3.

  32. ผลสำรวจจาก R&D Survey

  33. การใช้จ่ายด้าน R&D แยกตามอุตสาหกรรมและ สัดส่วนการลงทุน ที่มา : R&D Survey, NSTDA 2008

  34. มาตรการแรงจูงใจทางภาษีของไทยในปัจจุบันมาตรการแรงจูงใจทางภาษีของไทยในปัจจุบัน มาตรการหักค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา 200% กรมสรรพากร หักค่าใช้จ่ายเพื่อทำการวิจัยและพัฒนาได้200% จากที่จ่ายจริง มาตรการหักค่าเสื่อมราคาของเครื่องจักรที่ใช้ในการทำวิจัยและพัฒนา  กรมสรรพากร หักค่าเสื่อมราคาของเครื่องจักรและอุปกรณ์ของเครื่องจักรสำหรับการวิจัยอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน การวิจัยเชิงประยุกต์ การทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ และการปรับปรุงกรรมวิธีการผลิต ได้เพิ่มมากขึ้นจากปกติอีกร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน โดยสามารถหักได้ทันทีในวันที่ซื้อเครื่องจักร

  35. มูลค่าโครงการที่ยื่นขอทั้งหมด 3,262 ล้านบาท จำนวนโครงการที่ยื่นขอทั้งหมด 933 โครงการ รับรองแล้ว (771), 83% รับรองแล้ว (2,306), 72% ไม่ผ่านการรับรอง (10), 1% ไม่ผ่านการรับรอง (19), 1% ไม่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น (437), 13% อยู่ระหว่างการดำเนินงาน (100), 11% อยู่ระหว่างการดำเนินงาน (461), 14% R&D 200% ของกรมสรรพากร ภาพรวมการพิจารณาและรับรองโครงการวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ 2545 – 2552 (ข้อมูล ณ 31 ก.ค.52) ไม่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น (52), 5% Source: Research and Development Certification Committee Secretariat, 14 สค 2552

  36. 28 จำนวนบริษัทเจ้าของโครงการ 26 23 จำนวนโครงการยื่นขอรับรอง 19 20 จำนวนโครงการได้รับการรับรอง 17 13 8 9 6 5 5 R&D 200% ของกรมสรรพากร: จำแนกตามอุตสาหกรรม จำนวนโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่ขอรับการรับรองจาก สวทช. แยกตามประเภทอุตสาหกรรม Source: Research and Development Certification Committee Secretariat, 14 สค 2552

  37. 3. มาตรการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ของ BOI

  38. 4. มาตรการ STI ของ BOI จำนวนปี ที่ได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้เพิ่ม การลงทุนหรือค่าใช้จ่าย คิดเป็น ร้อยละของยอดขายรวมใน 3 ปีแรก เงื่อนไข การลงทุน / คชจ. ต่างๆรวมกัน • ด้านวิจัยและพัฒนาหรือออกแบบ และ ก. ร้อยละ 1หรือไม่น้อยกว่า 150 ล้านบาท 1 ปี แล้วแต่มูลค่าใดต่ำกว่า ข. ร้อยละ 2 หรือไม่น้อยกว่า 300 ล้านบาท • การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูงและ 2 ปี แล้วแต่มูลค่าใดต่ำกว่า ค. ร้อยละ 3 หรือไม่น้อยกว่า 450 ล้านบาท • การสนับสนุนสถาบันการศึกษา หรือสถาบันวิจัย 3 ปี แล้วแต่มูลค่าใดต่ำกว่า หมายเหตุ : การดำเนินการ STI ต้องใช้จ่ายตามเงื่อนไขในช่วงระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ปกติ

  39. STI ของ BOI: จำแนกตามอุตสาหกรรม โครงการที่ได้รับการส่งเสริมนโยบาย STI ถึง ก.ค.2552 จำนวน 130 โครงการยอดการลงทุนรวม 87,274 ล้านบาท

  40. มาตรการแรงจูงใจทางภาษีของไทยในปัจจุบันมาตรการแรงจูงใจทางภาษีของไทยในปัจจุบัน 5. มาตรการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาระหว่างภาคอุตสาหกรรม – สถาบันการศึกษา BOI บริษัทที่ขอรับการสนับสนุนต้องทำวิจัยและพัฒนาร่วมกับสถาบันวิจัยหรือสถาบันการศึกษาที่สำนักงานฯ ให้ความเห็นชอบ โดยจะได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัยและพัฒนา และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นสัดส่วนร้อยละ 70 ของมูลค่าเงินลงทุนและค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนา เป็นเวลา 3 ปี แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 10 ล้านบาท และไม่สามารถใช้สิทธิการหักค่าใช้จ่ายในการดำเนินการวิจัยและพัฒนา 200%

  41. Company Directed Technology Development Program : CD low-interest loans : applied R&D projects, upgrading of products or production processes and the building or refurbishing of laboratories Soft loans ≤ 30 MBaht, not exceeding 75% of total cost grants : higher risk industrial R&D projects Grants ≤ 5 MBaht, not exceeding 75% of total cost Grants & Loans* Applications received …………………. Applications approved ………………... Support provided (MBaht) …………… Total Company investment (MBaht) … 421 194 2,490 4,402 “ ..financial assistance in the form of soft loans and grants to promote innovation in the private sector..”

  42. National Innovation Agency Grant To support the projects after completed. Loan To share the risk of R&D in the beginning phase. Equity Investment - Direct investment - Co-invest with third parties in potential innovation projects

  43. NIA

  44. Thailand Science Park (TSP) Area: 80 Acres National Research Centers : BIOTEC, MTEC, NECTEC, NANOTEC Space for private sector:incubator units, multi-tenant buildings, long term leased land Projection in 3 years: additional 120,000 M2: half for private sector- 200 companies- 4,000 knowledge workers- turnover of $ 300 million/year

  45. อุตสาหกรรมอาหาร

  46. Global Value Chain of Leading Companies R&D HQ ศูนย์กำหนดเป้าหมาย platform technologiesวิเคราะห์โอกาสเปรียบเทียบแนวโน้ม กำหนดทิศทางธุรกิจ Define Portfolio Definition Discovery Research ศูนย์ค้นพบทดลอง วิจัยพัฒนา สิ่งใหม่ๆ ศูนย์ออกแบบ ให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า ทดสอบต้นแบบสินค้าและเทคโนโลยี Design Product Development Deploy Local adaptation and Implementation in factories/ regions/ countries ศูนย์ประยุกต์ customized solutionsมีความเข้าใจในความต้องการ และรสนิยมของลูกค้าในแต่ละท้องถิ่น • Regional Development Center (RDC) ของไทย • พัฒนาผลิตภัณฑ์ตัวหนึ่ง สำหรับทั้งเอเชีย รู้จักรสนิยม จีน อินเดีย ประเทศอื่นๆ

  47. ผลการศึกษา • เหตุจูงใจในการตั้ง R&D centre ในไทย: มี raw material ชั้นยอดทั้งใน ด้านราคา และคุณภาพ • บรรษัทข้ามชาติบางบริษัทตั้ง R&D center ในประเทศไทยเพราะไทยมีความพร้อมด้าน R&D มากกว่า แต่ไปตั้งโรงงานผลิตอยู่ในจีน อินเดีย • Regional R&D center บางแห่งกำลังถูกดึงไปต่างประเทศเช่น สิงคโปร์ ที่ให้ สิทธิด้านภาษี 15 ปี ครอบคลุมกิจกรรม R&D ในภูมิภาคเอเชียทั้งหมด • บริษัทขนาดใหญ่และกลาง ให้ความสำคัญกับฝ่ายวิจัยพัฒนาเป็นอันดับสองรองลงมาจากฝ่ายขาย • ความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาของแต่ละบริษัทนั้นหลากหลาย มีทั้งแบบ in-house/ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย/ สถาบันวิจัย ทั้งนี้ขึ้นกับความต้องการ/นโยบาย และความพร้อมของบริษัท

  48. ความพร้อมและปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานและสถาบันความพร้อมและปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน โครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพค่อนข้างดี บางบริษัทมีความร่วมมือกับสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัย ซึ่งถูกมองว่าเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญ แต่บางบริษัท ความร่วมมือมีอุปสรรค เนื่องจากนโยบายของมหาลัยไม่ชัดเจนว่าอาจารย์สามารถใช้เวลาทำงานร่วมกับเอกชนได้มากเท่าไร บรรษัทข้ามชาติบางแห่ง ให้การสนับสนุนในการสร้างห้องทดลองให้กับทางมหาวิทยาลัยและเข้าใช้บริการ กฎระเบียบภาครัฐบางประการเป็นอุปสรรค เช่น การห้ามนำเข้าสารตัวอย่างบางชนิดมาทำการวิจัย เนื่องจากถูกตีความว่าเป็นสารอันตราย ต้องการการสนับสนุนในการหาและย่อยข้อมูลจากวารสารวิชาการนานาชาติและสิทธิบัตรที่จดทะเบียนแล้วทั้งในและต่างประเทศ และมาตรฐานข้อกำหนดสากลและของประเทศคู่ค้า

  49. ความพร้อมและปัญหาด้านบุคลากรด้านวิจัยและพัฒนาความพร้อมและปัญหาด้านบุคลากรด้านวิจัยและพัฒนา ปัจจุบันยังขาดทักษะanalytical thinking หรือ creativity ความเป็นผู้นำการนำเสนอ และ การทำงานเป็นทีม บริษัทส่วนใหญ่ต้องการบุคลากรที่มีทักษะการวิจัยและพัฒนา วุฒิปริญญาโท บางบริษัทเห็นว่าความรู้พื้นฐานด้อยกว่าในอดีต เช่นจบทางด้าน food science แต่ไม่สามารถเขียนสูตรเคมีพื้นฐานได้ ทำให้เป็นอุปสรรคในการทำวิจัยเชิงลึก ความสามารถด้านภาษาอังกฤษยังมีน้อยเกินไปทำให้มีอุปสรรคในการสื่อสารโต้ตอบกับลูกค้า และการเรียนรู้เทคโนโลยีของประเทศอื่น แต่บรรษัทข้ามชาติ สามารถคัดเลือกเอาบุคลากรที่มีความสามารถเป็นเลิศระดับแนวหน้าได้ ในขณะที่บริษัทเอกชนไทยบางแห่ง ประสบปัญหาในการเฟ้นหาคนที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านซึ่งมีคนจบออกมาน้อย เช่น ผู้เชี่ยวชาญด้านแป้ง เอกชนมีความร่วมมือน้อยในการพัฒนาหลักสูตร ส่วนใหญ่ไม่เป็นทางการ

More Related